คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ธ.4-7 คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 96
หน้าที่ 96 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ธ.4-7 นี้นำเสนอหลักการแปลที่เน้นความชัดเจนของการใช้โครงสร้างประโยค โดยเฉพาะการวางตำแหน่งของคำในประโยค แนะนำให้หลีกเลี่ยงการใช้คำซ้ำซ้อนและการวางตำแหน่งซึ่งอาจทำให้เกิดความติดขัด การใช้ตัวอย่างที่ชัดเจนช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการแปลได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีการเน้นที่ความสลวยของภาษาซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการแปลให้ถูกต้องและสร้างสรรค์

หัวข้อประเด็น

-การใช้โครงสร้างประโยค
-การหลีกเลี่ยงการวางคำซ้ำซ้อน
-การเน้นความชัดเจนในการแปล
-หลักการแปลภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ธ.4-7 ประโยค ย แล้ว ก็ไม่นิยมวางนิบาตต้นข้อความไว้ในประโยค ๓ อีก หางวางไว้อีก ในเวลแปลล้มประโยค หรือแปลรวม ย ๓ นิบาทต้นข้อความในประโยค ๓ จะติดขัด แปลไม่ได้ จำเป็นทั้งโดยอัตโนมัติซึ่งไม่มีเหตุผลที่จะ stนลเสียโดยไม่เปล เพราะฉะนั้น จึงไม่นิยมวางบรรดาต้นข้อความไว้ในประโยค ๓ ด้วยเหตุผลดังกล่าว ขอให้ดูตัวอย่างและลองแปลล้มประโยคดู จะรู้ความติดขัดได้ชัด : ยทา ทิ ต นคร อุทิธิ ผิต อากิณฺนมุจสโล โหติ, ตทา จ โโน พลวดร สมนตราชาโน ต อุตโน เวส กาถู ปฏเณณี ๆ : ยสมา ทิ อิเมย ปฺปิทยา สนุกานโต ปุคคลโลสาวชุ ช ปวิชเชตวา อนวชฺช โกรโนโต อุตตาน ปติฤาเปติ, ตสมา เจสา ปปิทฺปา สมมาปิท ทนาม โหติ ๆ ในสองประโยคนี้ ประโยคแรก วาง หิ ศัพท์ไว้หลัง ยทา เป็น ยทา หิ แล้ววาง จ โน ศัพท์ไว้หลัง ตทา เป็น ตทา จ โน อีก และประโยคหลังวาง หิ ศัพท์ไว้หลัง ยสมา เป็น ยสมา หิ แล้วยังวาง จ ศัพท์ไว้หลัง ตสมา เป็น ตสมา จ อีก ถึงว่าวางนิบาทใว้ในประโยค ๓ โดยไม่จำเป็น เพราะจะไม่วางไว้ ก็สามารถแปลได้ความ และประโยคก็สลวยถูกต้องตามหลักภาษาอยู่แล้ว เมื่อวางเพิ่มไว้ อีกแทนที่จะดูดีรึสละสลวยขึ้น กลับดูเป็นส่วนเกิน และรุงรังไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More