ไวยากรณ์และสัมพันธ๺ ๑๐๐ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 117
หน้าที่ 117 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้มุ่งเน้นการอธิบายหลักการใช้ไวยากรณ์และสัมพันธ๺ ในภาษาไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแยกประเภทของคำ เช่น การใช้ 'เอก' และ 'พพุ' ในการตั้งชื่อและการร่ายเรียงคำต่างๆ การใช้คำที่มีความหมายหลากหลาย เช่น 'อาหารโร' และ 'อาหารา' เพื่อสื่อถึงชนิดของอาหารในมุมมองที่แตกต่างกัน รวมถึงการเสนอแนวทางในสถานการณ์ต่างๆ เมื่อใช้เครื่องมือภาษาที่เหมาะสมในการเขียนและการสื่อสาร เช่น บทสนทนาและบทความสั้น นอกจากนี้ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับการเรียงศัพท์ที่ถูกต้องเพื่อหลีกเลี่ยงความไม่ชัดเจนในการสื่อสาร นักศึกษาจะได้เรียนรู้การวิเคราะห์และประยุกต์ใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หัวข้อประเด็น

-หลักไวยากรณ์ภาษาไทย
-การใช้คำสัมพันธ๺
-การแยกประเภทคำ
-การเขียนที่ถูกต้อง
-การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธ๺ ๑๐๐ เช่น อุ๊ก นภา วลุก นนิพานิ เวลา สปิ เป็นต้น ไม่มีใช่เป็นรูป พพุ. ว่า อุทุก นภา นิพพานิ เป็นต้น (๒) ถ้าเพิ่งำเนิดเดิม ไม่มุ่งสิ่งประเภท หรือจำนวนที่แยกออก ให้ใช้เป็น เอก. ได้ ถ้ามีถึงจำนวนหรือ ต้องการแยกประเภท จึงใช้เป็นพพุ. เช่น : อาหารโร เพ่งอาหารไม่จำกัดชนิด อาหารา เพ่งอาหารชนิดต่างๆ : มหาชโน เพ่งคนมากพวกเดียวกัน มหาชน เพ่งคนมากหลายพวก หลายหมู่ : ปริสา เพ่งบริษัทที่เป็นพวกเดียวกัน ปริสาโอ เพ่งบริษัทต่างพวกกัน : ลีล เพ่งคุณความอัศจุรณ์หนึ่ง ลีลานิ เพ่งจำนวนศิลเป็นข้อๆ : ทาน เพ่งสิ่งของเป็นทานไม่จำกัดชนิดอย่างหนึ่ง ทานานิ เพ่งสิ่งของเป็นทานต่างชนิด : ปาน เพ่งเครื่องดิ่มไม่จำกัดชนิด ปานานิ เพ่งเครื่องดื่มต่างชนิด ฯ ล ฯ (๓) บทวีสนะ sitcom บทอพนตรกริยาก็ดี บทกิริยาคุมพาย ก็ต้องมีจะแสมอักษรประธานหรือบทที่ตนขยาย บางครั้งประโยคยาว นักศึกษาเรียงศัพท์เพลินไป เลยใส่จะแสมอักษรบาง ขใส่กรอก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More