สุขและทุกข์ในชีวิต คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 223
หน้าที่ 223 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับแนวคิดสุขและทุกข์ในชีวิต รวมถึงการเกิด การเปลี่ยนแปลงของอัตลักษณ์ที่ไม่เหมือนเดิม เช่น ความดีใจและเสียใจ ความสำคัญของการกินในชีวิตประจำวัน ทั้งการกินแข็ง การดื่ม และการมองเห็นดีเห็นชั่ว โดยยกตัวอย่างการเคลื่อนไหว เช่น การขึ้นและลงจากที่สูงต่ำ และการใช้คำศัพท์ที่สัมพันธ์กับการเกิดและการดำรงชีวิตโดยรวม เช่น ชายและวิชาย

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสุขและทุกข์
-การเกิดและอัตลักษณ์
-การกินและโภชนาการ
-ความสำคัญของการเคลื่อนไหว
-การเห็นดีเห็นชั่ว

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สุข ทุกข์ อุบปนโน เกิดขึ้น เกิดในกำเนิดต่างๆเกิดเรื่องรว เกิดเหตุการณ์ ชาตา เกิด คนเกิด สัตว์เกิด ความดีใจเสียใจเกิดและเกิดเป็นอัตอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่เหมือนเดิม เช่น ปาปิ ชาติตๆ ๑๒. อนุจฉวิกา "ควร" มักเร่งไว้หลังคำอื่น เช่น ตนทุนจฉวิกา อนุรูป "ควร" มักเร่งไว้วงศพท์อื่น เช่น ขนานรูปลปฏิรูป "ควร" มักเร่งไว้หน้าศพท์อื่น ๑๓. ขาติติ กินของแข็งที่ต้องเคี้ยวด้วยฟัน กินผลไม้ และ ใช้กับการกินของสัตว์ ภูษิตติ กินธัญญชาติ คือ กินข้าวต่างๆ ปิวติ กินของเหลว ของที่ใช้ดื่ม เช่น น้ำ ยา อาหาร อนุภูษิตติ กินบูบ กินบาป (เสวย) ๑๔. ชาย เป็นกิริยาของผู้เกิด คือ ลูก วิชาย เป็นกิริยาของผู้ให้เกิด คือ แม่ เท่ากับคำว่า "คลอด" ๑๕. โอรรยุ อารยุ ลงหรือขึ้นจากที่สูง เช่น บนได้ ภูเขา หลังสัตว์ เป็นต้น อุดต์ตรีวา โอตริตวา ขึ้นหรือลงสู่ที่ต่ำ เช่น ขึ้นจากน้ำ ลงแม่น้ำ ๑๖. ทิฏฐิ เห็นดีเห็นชั่ว เห็นด้วยใจ ทุษฺสน เห็นด้วนปัญญา เห็นด้วยตา เห็นด้วยการมองดู
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More