คู่มือวิชาแปลภาษาไทยสู่ภาษาอื่น คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 246
หน้าที่ 246 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือเล่มนี้เสนอวิธีการแปลภาษาไทยโดยเน้นการใช้ข้อคิดจากพระธรรม เพื่อให้ภิกษุที่เป็นบัญฑิตสามารถหลีกเลี่ยงบาปและนำไปสู่การปฏิบัติธรรมที่ถูกต้อง รวมถึงวิธีการแก้ไขและปรับประโยค เพื่อให้ตรงตามหลักการแปล พร้อมตัวอย่างการใช้ เช่น การขอพระองค์ทรงรับปัจจัยสี่ จนถึงตัวอย่างการปรับประโยคต่าง ๆ เพื่อให้การแปลมีความหมายใกล้เคียงที่สุดกับต้นฉบับที่อยู่ภายใต้หลักพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทย
-การปรับประโยค
-การเว้นบาป
-การใช้ภาษาในพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๓๐ คู่มือวิชาแปลภาษาไทยเป็นนคร ป.ธ.๔-๕ ความไทย : ภิกษุผูเป็นบัญฑิตพึงเว้นบาปทั้งหลาย แม้นมีประมาณน้อยเสียง เหมือนผู้ต้องการเป็นอยู่วัน ยาพิษอันร้ายแรง ฉะนั้น เดิม = ยกา ชีวิตถูกโม หลาหล วิส ปิฎฐ, เอวา ปณฺฑิโต ภิกฺขุ อุปมตตานิ ปาปนี ปราวิชเชยโย ๆ เป็น = ชีวิตถูกโม หลาหล วิส วิช วิญ ปณฺฑิโต ภิกฺขุ อุปมตตานิ ปาปนี ปราวิชเชยโย ๆ ตัวอย่างประโยค ย ขยายกริยาวิเศษณะ (ยาว - ตาว) (๑) ตัด ตาว ออก ให้เหลือแต่ ยาว ในประโยคหน้า (๒) แปลกริยาคุมพากย์ในประโยค ยาว เป็นกริยานาม และประกอบด้วย ปัญจมีวิตติ ลงท้ายด้วย อา เพื่อรับกับ ยาว (๓) แปลงบทประธานในประโยค ยาว ให้เป็นฉันทวิกิรติ (๔) บทประธานในประโยค ตาว จะย้ายไปไว้หน้า ยาว ก็ได้ ทั้งนี้ ให้ดูรูปประโยคเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างเช่น ความไทย : ขอพระองค์ทรงรับปัจจัยสี่ของขณะพระองค์ ตราบเท่า ที่ข้าพระองค์ยังมีชีวิตอยู่ เดิม = ยาวทั้ง ชีวมิม ตาว เม จตุรโฌ ปจเจย อธิวาสเส สด (๑/๙) เป็น = ยาว มุห์ ชิวา เม จตุรโฌ ปจเจย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More