คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๕-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 260
หน้าที่ 260 / 374

สรุปเนื้อหา

หนังสือคู่มือวิชานี้เสนอแนวทางการเรียนรู้การแปลและการแต่งข้อความในภาษาไทยให้ถูกต้อง โดยเน้นการชี้ให้เห็นความผิดพลาดที่นักศึกษาอาจทำในกระบวนการแปล ซึ่งส่งผลต่อความเข้าใจและคะแนนในชั้นเรียน สำหรับนักเรียนที่ต้องการพัฒนาทักษะในวิชานี้ ควรทำความเข้าใจในหลักการแก้ไขคำในประโยคแปล เพื่อสามารถแปลและแต่งภาษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะมีการชี้ให้เห็นข้อผิดพลาดที่พบได้บ่อยในนักศึกษา พร้อมทั้งเสนอวิธีการแก้ไขเพื่อให้การเรียนรู้มีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง.

หัวข้อประเด็น

-วิธีการแปลไทยเป็นนคร
-การแก้คำในประโยค
-ข้อผิดพลาดที่ควรระวัง
-เทคนิคการศึกษาในระดับ ป.ธ. ๕-๙
-การพัฒนาทักษะการแปลและแต่งภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๕๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๕-๙ อันนึ่ง ถ้านักศึกษา "เป็น" ในวิชาแปลไทยเป็นนครในชั้นต้นๆ มา ดีแล้ว ก็จะสามารถแปลไทยหรือแต่งไทยเป็นนครในชั้นสูงๆ ได้โดยไม่ ยากนัก เท่าที่สังเกตดูในตอบของนักเรียนชั้นสูงๆ ที่ตอบในสนามหลวง มักจะแสดงถึงความไม่ค่อย “เป็น” ในกระบวนการแปลไทยหรือแต่ง ไทยเป็นนครนั้น ไม่ใช่ผิดศัพท์ ไม่ใช่ผิดประโยค แต่ใช้ศัพท์ผิดบ้าง วงศัพท์ผิดบ้าง ใช้ถาษาผิดบ้าง ใช้คำผิดบ้าง ใช้ลงค วิถีผิดบ้าง ใช้บาด ใช้ไวจ์ เช่น โต ตา ตา ปัจจัยผิดบ้าง ซึ่ง เป็นเรื่องไม่น่าให้ผิด แต่ก็ทำผิดไป อันแสดงถึงความไม่รู้ไม่เข้าใจ เป็น ส่วนสำคัญ ที่ผิดเพราะผลออกมาบ้าง ผิดเพราะเข้าใจผิดบ้าง butผิด เพราะไม่รู้เสียเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งก็เป็นที่น่าเสียใจวาในชั้นสูงๆ ไม่น่าจะ ผิดเช่นนั้น แมบบางครั้งจะไม่ผิดรุ่นแรง แต่ก็เสียภูมิqาอยู่ อาจทำให้ เสียคะแนนโดยใช้เหตุ ในบทที่ว่าด้วยการเรียงประโยคอธิบายความบทนี้ จึงจะแสดง ข้อปลี่ยนอยที่สังเกตเห็นได้จาก “ผิด” ที่นักศึกษา “ทำ” ไวเพื่อเป็นแนวทาง ให้เป็น “ถูก” ต่อไปในภาคข้างหน้า โดยจะเน้นเฉพาะอย่างเฉพาะเรื่อง ไป คือ หลักการแก้คำ ในประโยคแปลอธิบายความบทนี้ จึงจะแสดง ข้อปลี่ยนอยที่สังเกตเห็นได้จาก “ผิด” ที่นักศึกษา “ทำ” ไวเพื่อเป็นแนวทาง ให้เป็น “ถูก” ต่อไปในภาคข้างหน้า โดยจะเน้นเฉพาะอย่างเฉพาะเรื่อง ไป คือ หลักการแก้คำ ในประโยคแปลอธิบายความบทนี้ จึงจะแสดง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More