ข้อความต้นฉบับในหน้า
กฎเกณฑ์การเรียงประโยค ๒๖
๘. เมื่อมาคู่กับกิริยาอาขยาตที่ขึ้นต้นด้วย "สระ" หรือที่มีอักษร "อ" นำหน้า เช่น อากสิ อิไล อาคจุติ เป็นต้น นิยมสนธิกับกิริยานั้นเลย หรือเมื่อมาคู่กับกริยากิตต์ที่ขึ้นต้นด้วยสระ หากไม่แปลงเป็น อน ก็ยิสนธิเข้าด้วยกัน เช่น
: น อโฬิ เป็น นาโฬิ
: น อาคจุติ เป็น นาคจุติ
: น อุปจิติ เป็น นาญจิติ
การเรียง น คำศัพท์ในประโยค มีข้อควรสังเกตอยู่ ๒ ประการ ซึ่งเป็นข้อสังเกตพิเศษ คือ
๑. เรียง น ที่ปฏิเสร็ททั้งประโยคไว้ต้นประโยค ในกรณีใด ข้อนี้มีข้อพอสังเกตได้ คือ ประโยคที่ต้องการเน้นความปฏิเสร็จขาดและปฏิเสร็จทุกคำในประโยค ทั้งนามและกิริยา อย่างนี้จึงวาง น ไว้ต้นประโยค ดังตัวอย่างประโยคว่า
: น มยุห์ ปุตโต โพธี อุปปตวา กาล โกลิ
ในประโยคนี้ น คำที่ อาจปฏิเสร็ได้ทุกคำ เช่น
- บุตรของผู้ใช้เรา ไม่บรรลุโพธิญาณ ทำกาลไป
- ผู้ใช้บุตรของเรา ไม่บรรลุโพธิญาณ ทำกาลไป
- บุตรของเรา จะไม่บรรลุสิ่งที่มีใช้โพธิญาณ ทำกาลไป
- บุตรของเรา ไม่บรรลุโพธิญาณ ทำกาลไป หามได้
- บุตรของเรา ไม่บรรลุโพธิญาณ ย่อมไม่ทำกาล ไป