ข้อความต้นฉบับในหน้า
คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ปวช.๕-๙
มคธ : โย โกริ ปูริโส พลสมุนโน โส อณฺเญติ
สมานวตฺน อุตฺตาน วฺุตํ สูโกติ สลด ปน โกติ อติถามวามา ภวนย, โส ขิปมวม อนุปฺเพพน อิวิทฺทูเตติ ; เอว มยฺุมิป ฐูฏาน พละ โหวติ, ยสมฺ ปฤธร๏ ปวดตติ, ตสฺส พลสมฺเว วสฺสีสรํญฺจ ภิโโยโส มตฺตาย อนุปฺพุหนติ ๆ
๓. การเติมความ
ข้อความภาษาไทยที่กำหนดให้แต่งนั้น ในบางตอนจะมีเนื้อความที่ยังไม่ชัดเจน ยังคงเคอร์ว ยังคงความได้ไม่หมด หากจะแต่งไปตามข้อความนั้น ยอมทำให้ขาดความแจ่มแจ้งและเสียอรรถรสทางภาษาได้ ในกรณีอย่างนี้ให้เติมเนื้อความที่ขาดไปให้เต็มสมบูรณ์ได้ เนื้อความที่เติมนันอาจเป็นประโยค เป็นวลี หรือเป็นคำศัพท์ก็ได้ แล้วแต่ความเหมาะสม เมื่อเติมแล้วต้องได้ความเต็มสมบูรณ์ขึ้น เนื้อความสัมพันธ์เนื่องกันไปเป็นเรื่องเดียวกัน มีใช้เติมแล้วทำให้เนื้อความสับสน เพราะเติมความอื่นที่ไม่เกี่ยวกับเรื่องลงไป
อันมิ ในเรื่องการเติมความนี้มีข้อที่พิสูจน์ทราบอันเป็นความนิยมทางภาษาเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้
๑. ข้อความที่เป็นหัวข้อธรรมน เมื่อจะแต่งอธิบายมายแต่งเป็นรูปวิเคราะห์เติมเข้ามาก่อน แต่รูปวิเคราะห์นั้นจะต้องเป็นรูปวิเคราะห์ที่ผู้รู้ได้เขียนไว้ในปกรณ์ทั้งหลายแล้ว มิใช่แต่งเองตามใจชอบ เช่น