การเรียงประกอบอธิบายความ ๒๕๓ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 269
หน้าที่ 269 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการเรียงประกอบอธิบายความในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นการใช้งานแบบที่ ๑ และแบบที่ ๒ ที่เหมาะสมในการชี้แจงและอธิบายความ โดยยกตัวอย่างที่ชัดเจนเพื่อให้เห็นถึงความสำคัญของการวางนามศัพท์ที่ถูกต้อง ซึ่งสามารถส่งผลต่อความชัดเจนของเนื้อหาและการสื่อสาร นอกจากนี้ยังมีการระบุกรณีการใช้รูปแบบอื่นๆ และการเลือกใช้งานที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำไปปรับใช้ในงานเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การเรียงประกอบอธิบายความ
-รูปแบบต่างๆ
-ความสำคัญของนามศัพท์
-การเลือกใช้งานอย่างเหมาะสม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การเรียงประกอบอธิบายความ ๒๕๓ ตัวอย่างอื่นๆ อีก เช่น : ปรสัส มมุมฉากกายวิโยคสมบูรณ์ เอกนุตรสเจตนา ผรุสวดา ฯ (วิทูรี ๑/๒๓๗) โดยสรุปแล้ว แบบที่ ๑ ใช้เฉพาะกรณีที่แก้รธ ซึ่งชี้แจงเริ่ม ต้นเรื่อง และมีที่ใช้น้อย ที่ใช้มากที่สุด คือ แบบที่ ๒ ซึ่งเป็นแบบอธิบาย ความ หรือไขความทั่วไป ไป แบบที่จะต้องใส่ นามศัพท์ ตามหลังบทนาม ด้วยเสมอ ส่วนแบบที่ ๓ และแบบที่ ๔ ใช้แทนกันได้ คือ จะมี นามศัพท์ กำกับอยู่ด้วยหรือไม่ก็ได้ ไม่ถือเป็นผิด ขอให้ดูตัวอย่างในประกาย ต่อไปนี้เป็นแบบยืนยัน : ตตล อปลิดอิทธิรงคุสง สงโโต วา คณโต วา ธมุ- เทสนาทิธิ จลส คเนธิ ปสนานน คีหิน สนติภ อุปปนานา ปัจจุบา ปรสทุรูปปทา นาม ปฐมปทจริงทิริ ปน อิติปริจฉรูปปทาเยว ฯ ปรจุติรติรงคุสง ปฐมปทา- จริงทิธี ฯ ปลๆ ธุงคุณิยามุนโลแมนูปปนานา ปรจุติรุปปาท ฯ (วิสุทธิ ๑/๕๐) ในกรณีที่แต่งเป็นแบบที่ ๒ ซึ่งต้องวาง นาม คำที่ไว้ด้วยนั้น หาก นักศึกษาไม่วางไว้ จะทำให้ประกายขาดความสมรรถและจะทำให้เสียงความไปก็ได้ เช่น ประโยคว่า ความไทย : อุปาจรพร้อมทั้งสัมภาระ ชื่อว่าปฏิทววิสุทธอัปปนา ชื่อว่าการพอพูดนะเบขา การพิจารณา ชื่อว่าสัมปังสนา ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More