การใช้วาจาในภาษาไทย คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 141
หน้าที่ 141 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการจัดเรียงคำในประโยคภาษาไทย โดยคำนึงถึงหลักการทางไวยากรณ์ที่ถูกต้องแม้จะทำให้เสียอรรถรส นอกจากนี้ยังมีการวิเคราะห์เกี่ยวกับการใช้วาจาห้าประเภท ได้แก่ กัมมวาจา, ทัตวาจา, และกัตวาจา โดยเน้นความสำคัญของผูท้าในประโยคต่างๆ รวมถึงตัวอย่างในการใช้ มุ่งหวังให้เข้าใจการแต่งประโยคและวาจาในบริบทที่เหมาะสม

หัวข้อประเด็น

-การวางคำในประโยค
-ประเภทของวาจา
-กัตวาจา
-การใช้ภาษาไทย
-หลักการไวยากรณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธ์ ๒๕ การวางคำในประโยคด้วย คำที่ไหนท่านวางตรงไหน ประกอบด้วย วิถีตออะไร ต้องให้ถูกหลักเข้าไว้ก่อน เป็นไม่ผิด แม้บางทีจะทำให้เสียอรรถรส ก็ยังดีกว่ใช้ผิดหลัก มีปัญหาอย่างหนึ่งที่ทำความหนักใจให้แก่นักศึกษาใหม่ไม่น้อย คือ เมื่อพบความไทยอย่างนี้แล้วจะแต่งเป็นวาจาอะไร หรือว่าในกรณีไหนจึงแต่งเป็นทัตวาจา ในกรณีไหนจึงแต่งเป็นกัมมวาจา หรือเป็นวาจาอื่นนอกจากนี้ ในเรื่องนี้ เป็นเรื่องอยากเหมือนกันที่จะตัดสินใจว่าต้องเป็นแบบนั้นแบบนี้ เพราะมีข้อยกเว้นมากมาย แต่เท่าที่สังเกตดูมา พอมีข้อกำหนดในการใช้วาจาต่างๆ ทั้ง ๕ จากดังต่อไปนี้ ๓. กัตวาจา (คำพูดกล่าวถึงผูท้า) ใช้ในกรณีที่ข้อความในประโยคเน้นผูท้าเป็นหลักใหญ่ มิ่งแสดงความสำคัญของผูทำและกิริยาอาการของผู้ทำเป็นประมาณโดยมิได้เน้นถึงว่าสิ่งที่ถูกทำเป็นอะไร ทำอย่างไร เป็นต้น ส่วนมากใช้ในข้อความที่เป็นท้องเรื่อง เดินเรื่องธรรมดา หรือเป็นความอธิบายเป็นเลขนอก หรือเลขในที่เป็นความบอกเล่าธรรมดา ที่มีได้เน้นสิ่งอื่นนอกจากผูท้า สรุปอีกทีก็คือ ประโยคที่เน้นผูท้า ใช้คำตวาด และผู้ท่านั้นต้องเป็นประธานในประโยค เช่น : สุโข โอทนัง ปติ ๆ เน้นผูท้า คือ สุโข พ่อครัว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More