ข้อความต้นฉบับในหน้า
การเรียงประโยคอธิบายความ ๒๔๗
ความไทย : สองบทว่า สติปัจจุบา วัฐภูติ ความว่า การได้ความที่มีติเครื่องพิจารณาเป็นปัจจัย ย่อมควร
เป็น : สติปัจจุบา วัฐภูติติ ปัจจาวุขนสุติยา ปัจจุตติ ลฺภึ วัฏภูติ ฯ (มงคล ๑/๙๘)
ในการแก้คำเช่นตัวอย่างที่ยากนี้ มีข้อความที่ควรคำนึงอยูาบางประกาศ คือ
(๑) ต้องวินิจฉัยว่า ท่านให้แก้ศัพท์ไหน ในบทนี้มีหลายบทหรือให้แก้บทต้องอยู่ในดูคลุปจิ โดยสังเกตจากคำแปล เช่น ในประโยคว่า สีเล ปติฏฐาย ท่านมุ่งแก้ที่ศัพท์ ปติฏฺฐาย ไม่ได้มุ่งแก้ที่ สีเล เพราะฉะนั้น ไม่จำเป็นต้องแก้ทั้ง ๒ บท เป็น สีลมิติ สฺดฺวา ซึงมองดูไม่สละสลวย เพราะ สีลมิจิ ไม่ค่อยมีใช้ ทั้ง สีลมิจิ และ สีเล ก็แปลอย่างเดียวกัน แก้เป็น สีลมิจิ แล้วก็ไม่ได้ความวิสิฐขึ้น
(๒) บทแก้นัน จะต้องไม่ซ้ำกับบทตั้ง คือ ต้องใช้ศัพท์ หรือประกอบศัพท์ให้ดาวบทตั้ง จึงจะเรียกว่าแก้ หรืออธิบาย หากใช้ศัพท์เหมือนกัน แปลแต่รูปวิกฤติ เช่น สีลมิจิ สีเล เป็นตันเท่านั้น เรียกว่ายังไม่ได้แก้ นอกเสียจาก ตวา อนุต พจฺจาย ที่ท่านใช้ในรูปอื่น แก้ให้รูปเป็น ตวา อนุต มาน ปัจจัยเพื่อให้ได้แห่ง ชื่อว่าแก้เหมือนกัน เช่น นิสมุมาติ นิสมิตวา ๆ วิวิจาจาติ วิวิจิติวา ๆ ภาวนุต ภาวยนุต ภาวยามโน ๆ สมบุต สมนุต สมนุตโต ๆ รชนุต รชนุตโต ๆ ปิ่นนุต ปิวนุต ๆ