คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครอ ป.ร.๔-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 160
หน้าที่ 160 / 374

สรุปเนื้อหา

คำนิยามสำคัญในบทนี้คือการแปลความไทยเป็นภาษามคธอย่างถูกต้อง ซึ่งมีข้อกำหนดหลายประการในการแต่งตามสำเนาภาษามคธ เนื้อหาจะเน้นถึงความสำคัญของหลักการการใช้สำเนาภาษามคธที่ถูกต้อง โดยมีตัวอย่างการแปลที่ไม่ถูกต้องเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนมากขึ้น เรื่องดังกล่าวสำคัญมากเพราะหากใช้ผิดอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิดทางภาษาได้.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของการแปล
-การใช้สำเนาภาษามคธ
-ตัวอย่างการแปลที่ไม่ถูกต้อง
-เนื้อหาของบทเรียน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

Here's the extracted text from the image: --- 655 คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครอ ป.ร.๔-๙ "เมื่อแต่งหรือแปลความไทยเป็นภาษามคธ ต้องให้ถูกหลักและจำนวนตามภาษามคธ ไม่ใช่ตามภาษาไทยหรือสำเนาไทย หรือภาษามอญไทย" เช่น ความไทยว่าท่านสบายดีหรือ จะแต่งตามสำเนาไทยไปที่ๆ ว่า ก็ เต สัปปายะ โหติ หรือ ก็ ตัว สัปปายะ ย่อมไม่ได้เพราะสำเนามครเขาไม่ใช้อย่างนี้ เขาใช้ว่า "กัลจิ เต ขมนิยะ" หรือขมนีย์ หรือ ขมนีย์ เต ดังนี้ หรือความไทยว่า หมอรักษาโรค จะแต่งว่า เวชโช โรค รุกฒิติโก ไม่ถูก เพราะแต่งอย่างนี้เรียกว่า เป็นภาษาบาลีไทย ต้องแต่งให้ถูกตามสำเนามครว่า "เวชโธโร คิตจิติติ" ดังนี้ ตามตัวอย่างนี้ ก็พอจะมองเห็นได้แล้วว่า สำเนาภาษามครนั้นเป็นเรื่องสำคัญไม่น้อย หากใช้ผิดแล้วจะทำให้เสียความหมายและทำให้เจ้าของภาษา ฟังไม่รู้เรื่องเอาเลยก็ได้ ในบทนี้ จึงจะได้กล่าวรายละเอียดในเรื่องสำเนานิยม ตามลำดับหัวข้อ ต่อไปนี้ สำเนามคร สำเนาไทยสันตั ดำเนินสอบภูมิ สำเนานิยมทั่วไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More