สำนวนนิยมในภาษา คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 159
หน้าที่ 159 / 374

สรุปเนื้อหา

บทที่ ๔ กล่าวถึงความสำคัญของสำนวนนิยมในแต่ละภาษา ซึ่งสำนวนนิยมคือคำหรือกลุ่มคำที่มีความหมายเฉพาะในหมู่ผู้ใช้ภาษา การแปลสำนวนนิยมอาจทำได้ยากโดยตรง นักเรียนควรเข้าใจทั้งสำนวนไทยและสำนวนในภาษาอื่นเพื่อการแปลที่มีคุณภาพ เช่น การแปลคำว่า 'ขมมินี่' ซึ่งหมายถึง 'พอทนได้' ในบริบทนี้ก็เท่ากับ 'สบายดี' ของภาษาไทย ดังนั้นนักศึกษาควรเรียนรู้เพื่อให้การแต่งประโยคมีอรรถรส

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสำนวนนิยม
-ความสำคัญในการแปล
-บทบาทในการแต่งประโยค
-ตัวอย่างสำนวนนิยมในภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

บทที่ ๔ สำนวนนิยม ในทุกชาติกทุกภาษาย่อมมีสำนวนภาษาเป็นของตัวเองทั้งสิ้น สำนวนภาษาจือว่าเป็นลักษณะเด่นอย่างหนึ่งของภาษา ซึ่งเข้าใจความหมายรู้กันเฉพาะในหมู่ผู้ใช้ภาษานั้นๆ และสำนวนภาษนี้ อาจเป็นคำศัพท์เดียว หรือเป็นกลุ่มคำ หรือเป็นประโยคก็ได้ ที่มีความหมาย ละสลวยลักษณ์ซึ่งในตัว ซึ่งหากจะแปลถ่ายทอดไปสู่อีกภาษาหนึ่งตรงๆ แล้วอ้อมเข้าใจได้ยาก หรือไม่ได้ใจความ อย่างเช่น ขมמินี่ ถ้าปลตามตัวก็ได้ความว่า “พอทนได้” แต่ความจริงคืนนั้น เป็นสำนวนเท่ากับความไทยว่าน่า “สบายดี” นั่นเอง เพราะฉะนั้น จึงเป็นความจำเป็นที่นักศึกษาวิชาแปลไทยเป็นครูหรือวิชาแต่งไทยเป็นครู จะต้องรู้จักสำนวน ทั้งของภาษามคร และภาษาไทยได้ดี จึงจะแต่งประโยคบัลได้ถูกต้องและได้อรรถรสทางวรรณคดี ในเบื้องต้นขอให้นักศึกษาจำไว้ว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More