คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.๕-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 314
หน้าที่ 314 / 374

สรุปเนื้อหา

หนังสือคู่มือการแปลไทยเป็นเขมรสำหรับครูระดับประถมศึกษาปีที่ 5-9 เน้นการตีความภาษาไทยในประโยคยาวๆ เพื่อไม่ให้เสียความหมาย โดยมีตัวอย่างการตีความเพื่อให้เข้าใจในเนื้อหาดีขึ้น การทำความเข้าใจในโครงสร้างภาษาและการใช้คำที่ถูกต้องในแต่ละภาษาเป็นสิ่งสำคัญในการแปล รวมถึงการรักษาเนื้อความเดิมขณะแปลเป็นภาษาเขมร เพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและถูกต้องสำหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษา สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การตีความภาษาไทย
-การแปลเป็นภาษาเขมร
-ความสำคัญของเนื้อความในประโยค
-การศึกษาและการสอนภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๕๙๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.๕-๙ ไหน หรือในประโยคที่ยาวควรจะตัดทอนประโยคตรงไหน จึงจะเสีย ความ ดังนี้เป็นต้น หากว่าตีความภาษาไทยไม่เป็น จับประเด็นไม่ถูก หรือตีความไปอีกอย่างหนึ่ง ก็จะแต่งได้ไม่ดีหรือไม่ถูกต้องไปเลย การที่จะต้องตีความก่อนนั้น ก็เพราะลักษณะภาษาไทยมีถ้อยคำ จำนวนหลากหลาย มีประโยคซับซ้อน และขาดความสมบูรณ์ในตัว แต่ ก็สามารถสื่อความหมายได้ เช่นข้อความว่า “ในชุมชนที่ดำอยู่เป็นปึกแผ่นในแผ่นดินแห่งหนึ่ง ซึ่งเรียกว่าบ้าน เมืองหรือประเทศนี้ จำต้องมีคน ๒ จำพวก คือ คนทำกินหนึ่ง คนปกครองหนึ่ง ในครอบครัวแห่งหนึ่ง มีแต่คนกินมาก มคนหน่อย ครอบครัวนั้นไม่ซ้ำก็จะถึงความลำบาก แต่ถ้าช่วยกันหาทางช่วยกันกินจึงจะ ตั้งอยู่ได้” ตามตัวอย่างข้างบนนี้ จำเป็นต้องตีความเสียใหม่ เพราะเป็นภาษา ไทยสั้นกัด คืองงความเข้าใจในเนื้อหามากกว่าบ่งไว้การณ์ โดยจับ ประเด็นเนื้อหาว่ากำลังกล่าวถึงเรื่องอะไรอยู่ ประโยคลงแต่ไหน เป็นต้น เมื่อตีความในภาษาไทยได้แล้ว จะต้องมีกำหนดตีความใน ภาษาเขมรอีกทอดหนึ่ง กล่าวคือ ต้องกำหนดว่าว่า ความไทยดีไหมนั่นจะ สามารถนำมาแต่งเป็นภาษาเขมรได้หรือไม่ หรือเมื่อแต่งเป็นภาษาเขมร แล้วจะยังคงเนื้อความเดิมอยู่หรือไม่ คือ ต้องคิดถึงหลักของทั้งสองภาษามีใช้คำในภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ ขอให้ศึกษาทำความเข้าใจ และตราหนังไว้เป็นเบื้องต้นก่อนว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More