ข้อความต้นฉบับในหน้า
คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป., ๔-๙
๓. คำที่นิยมใช้กับ สฤี ต้องเป็นคำที่รูปธรรม เป็นสิ่งมีชีวิต มีรูปร่างปรากฏ เช่น คน สัตว์ เป็นต้น ดังตัวอย่างข้างต้นนี้ คำที่นิยมใช้กับ สฤี ต้องเป็นคำพ้นนามธรรม เป็นสิ่งไม่มีชีวิต ไม่มีรูปร่างปรากฏ ดังตัวอย่างข้างต้นเช่นกัน
วิธีเรียง ปฏจาย กับ ยาว
ปฏจาย แปลว่า "จำเดิม ตั้งแต่" ยาว แปลว่า "จน, จนถึง, จนกว่า, ตราบเท่า" ทั้งสองคำนี้วิธีเรียงดังนี้
๑. คำที่ทำหน้าที่ขยาย ปฏจาย นิยมเรียงไว้หน้า ปฏจาย และประกอบด้วย โต ปัจจัย เช่น
: โต ปฏจาย เตลี ปัจจุทายา อุปฏิสกาม เทว โภ ฯลฯ (๑/๕๐)
๒. คำที่ทำหน้าที่ขยาย ยาว นิยมเรียงไว้หลัง ยาว และนิยมมีรูปเป็นปัญจวิถีติที่ลงท้ายด้วย อ เช่น
: อนุส สตฺตา ยาว อุรฏฺตา กมมุฏฺฐาน กถลี ฯ (๑/๕๐)
๓. ถ้า ปฏจาย กับ ยาว มาคู่กันในประโยคเดียวกัน และมีบทขยายด้วยกันทั้งคู่ แปลเป็นจำนวนไทยว่า "ตั้งแต่, จนถึง, จนกว่า" เป็นต้น แต่...จนกระทั่งถึง ฯลฯ ยนิยมเรียกท่อน ปฏจาย ไว้ข้างหน้า เรียงท่อนยาวไว้ข้างหลัง ส่วนบทขยายก็เรียงตามวิธีดังกล่าวข้างต้น เช่น