คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.๓-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 320
หน้าที่ 320 / 374

สรุปเนื้อหา

หนังสือเล่มนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการตามความจากสนวนไทยไปยังสนวนมคร โดยเน้นไปที่ข้อความสนวนที่สามารถแปลได้อย่างไม่ซับซ้อนและมีความชัดเจน เช่น การบรรยายหรือเล่าเรื่อง ซึ่งเหมาะสำหรับการแต่งให้เป็นสนวนมคร นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างการแปลจากข้อความไทยที่สั้นและง่ายต่อการเข้าใจ ข้อความดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการตามความนั้นสามารถทำได้โดยไม่ต้องตัดทอนหรือเพิ่มเติมโดยไม่จำกัดความถูกต้องของเนื้อหา อ้างอิงจาก dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การแปลเนื้อหา
-การตามความ
-สนวนไทย
-สนวนมคร
-ตัวอย่างการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.๓-๙ ๒. การตามความ ข้อความสนวนไทยบางส่วนมีความคล้ายคลึงกับสนวนมคร สามารถแต่งเป็นสนวนมครได้โดยไม่ต้องตัดทอน หรือเพิ่มเติมอีก ข้อความสนวนไทยที่สามารถตามความได้ดีนั้น โดยมากเป็นข้อความ ที่บรรยายความ คือเล่าเรื่องหรือเดินเรื่องไปเรื่อย ๆ เป็นข้อความสั้น ๆ มีความชัดเจน ไม่ซับซ้อนมาก หรือเป็นข้อความที่ถ่ายเทมาจากสนวนธรรมะหรือสนวนมครโดยตรง มีข้อความที่อธิบายหรือขยายความ ซึ่งมักจะมีประโยชน์ยาวและซับซ้อน เมื่อพบสนวนอย่างนี้ก็เป็นการสะดวกที่จะแต่งให้เป็นสนวนมคร แม้ศัพท์ที่จะใช้หาได้ง่าย ประโยคก็ไม่ซับซ้อน เป็นเอกรรณประโยคเสียโดยมาก เช่น ข้อความว่า "ในที่นั้น มิต้นมะม่วงใหญ่ตั้งอยู่ริมฝังแม่น้ำคงคา มีสาขาขึ้นงามตระการ บางสาขาก็แผ่ก้านออกไปถึงแม่น้ำทรงผลอันโอชารสดี ลำเป็นที่น่าปรารถนา บางก็หล่นลงในน้ำน้ำ" สนวนอย่างนี้สามารถแต่งตามได้โดยไม่ยากนัก เพราะเป็นสนวนพื้น ๆ เมื่อแต่งตามแล้วจะได้ว่า ตุตโต มหุนโต อมพุรุกโฆ สาขาปุตตสมปูโน คุจาย ตีระ ปิติสุทธิ ๆ ตสส สาขา สาถก กาวิ นทีฯ ปลาสรสีฯ ตสส ผลานิ อุตถานิ กุมาตินี มรรคานิ "สนามหลวง ๒๕๐๑" การตามความไม่มีข้อพิศษอะไรมาก เพราะเมื่อสนวนไทยเอื้ออำนวยให้โดยตรง ด้วยมีลักษณะดังกล่าวข้างต้น ก็สามารถแต่งตาม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More