ข้อความต้นฉบับในหน้า
270 คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๕-๙
ความไทย : ท่านเศรษฐีตั้งชื่อคู่ชายคนนี้ว่าปละ เพราะบุตรนั้น ตนอาศัยต้นไม้เจ้าป่า ที่ตน บริบาลได้มา
เดิม = เสฏฐี อุตตนา ปลิตต์ วนุปติ นิสุสาย ลุกฺโฏตตา ตสส ปโลติ นาม อกาส ฯ (๑/๓)
เป็น = ยสม อุตตนา ปลิตต์ วนุปติ นิสุสาย ลุกฺโฏตา สสส ปโลติ นาม อกาส ฯ
ความไทย: พระพุทธเจ้า ข้าพระองค์ ไม่อาจเรียน ค้นคว้าธรรมได้ เพราะข้าพระองค์ควบเมื่อภายแก่
เดิม = ภนต มหูลกกาล บพุทธิโต คนธรุ
ปุรึฏู น สกลิสามิ ฯ (๑/๗)
เป็น = ยสม ภนต มหูลกกาล ปุทฺโธ มหูลกกาล ปุรึฏู น สกลิสามิ ฯ
ยังมีส่วนไทยอีกแบบหนึ่ง ที่นิยมมาแต่งเป็นประโยคใหม่ ได้คือ สำนวน แปลสาระ เช่นที่แปลว่า “เป็นที่” เป็นเครื่อง เป็นแดน เป็นเหตุ” เป็นต้น เมื่อพบสำนวนประเภทนี้ พึงรู้ว่าท่านแปลตัดมาจาก ย ต คือ ตัด ย ต ออก หรือแปลให้สร้างประโยคใหม่ได้ ฉะนั้นเวลาจะประกอบเป็นประโยค ย ต พึงทำดังนี้
(๑)ในประโยค ย า จะมีรูปเป็นวิกิตอะไร ก็ให้อันคำแปลใน สำนวนเป็นหลัก ถ้าท่านแปลว่า “เป็นที่” ให้รูปเป็น ยุต ถ้าหากว่า “เป็นแดน” ให้รูปเป็น ยสม ยา แปลว่า “เป็นเครื่อง เป็นเหตุ” ให้รูป