ข้อความต้นฉบับในหน้า
การแปลประโยคและการลัมประโยค ๒๐๙
วิธีแปลประโยคคัดวาจจากเป็นคำมวลจาก
ดังก่าวมาแล้วในบทก่อนว่า ในประโยคคัดวาจ ท่านเน้นตัวกดตาเป็นตัวประธานของประโยค ในประโยคคัดวาจ ท่านเน้นตัวกรรมเป็นประธานของประโยค แต่ถาความไม่ชัดเจนลงไปว่า เป็นกัตต. หรือเป็นกัมม. คือ อาจเป็นได้ทั้งสองอย่าง ก็อาจแต่งเป็นรูปประโยคไปโดยอิสราได้ เช่น ความไทยเป็นกัตต. อาจแปลลงเป็นกัมม. ได้ วิธีการแปลประโยคเช่นนี้ พึงยึดถือเอาง่ายๆ จากตัวอย่างก่อน คือ
กัตตวาจา : สุโจ โอทน ปัจจัย ๆ
กัมมวาจา : สุเทน โอทน ปฏิเสตฯ
หลักนี้ถือว่าเป็นแม่บท ต้องจำให้ได้แม่นยำ ตามตัวอย่างนี้มี ข้อสังเกตอยู่ และควรถือว่าเป็นหลักในการแปลประโยคคัดวาจ เป็นกัมม. เลยทีเดียว คือ
(1) ประโยคที่จะเปล่งกัตต. เป็นกัมม. ได้ จะต้องมีริยาคุมพาย การเป็นกัมมธาตุ (ถวายเรียกหากรรม) เท่านั้น
(2) บทกัตต (ตัวประธาน) ในประโยค กัตต. จะต้องเป็นตัวอนุกิตตัตตา ประกอบด้วยติยาววติ เมื่อกลับเป็นประโยคกัมม. จะต้องกลันเป็นตัวกุตตุม (ตัวประธาน) ประกอบด้วยปฐมวิภัตติ
(3) บทกรรม (วุตตกุมมม) ในประโยคกัตต. เมื่อกลับเป็นประโยคกัมม. จะต้องกลันเป็นตัวกุตตกุมม (ตัวประธาน) ประกอบด้วยปฐมวิภัตติ
(4) บทกิริยา ในประโยคกัตต. จะต้องเปลี่ยนเครื่องปรุง คือ