คู่มือวิชาปแปลไทยเป็นครู ป.4-9 คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 242
หน้าที่ 242 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาปแปลไทยเป็นครูระดับ ป.4-9 เน้นการสอนและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลงประโยคในภาษาไทย การลำประโยค และความจำเป็นในการใช้กฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์เพื่อช่วยในการสอนนักเรียน โดยหลักการที่สำคัญนั้นรวมถึงการแปลงประโยคด้วยรูปแบบต่างๆ เช่น วิธีอปประโยค การตัดประโยค และการขยายประโยคให้สมบูรณ์ การเรียนรู้เหล่านี้จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้สอนจะสามารถนำแนวทางนี้ไปปรับใช้ในการสอนเพื่อพัฒนาและเสริมทักษะการใช้ภาษาของนักเรียนในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะในด้านการเขียนและการสื่อสารในภาษาไทย

หัวข้อประเด็น

-การแปลงประโยค
-การลำประโยค
-วิธีอปประโยค
-ภาษาไวยากรณ์
-การขยายประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาปแปลไทยเป็นครู ป.4-9 กัมม. = สุพเพ็ญ ทายเกษี ปริมาณคสูล สิฎฐูโน โส ปฏโต ทินโนฯ สรุปความแล้ว ในเรื่องการแปลงประโยคต่างๆ นั้น นักศึกษาจำเป็นต้องตระหนักถึงแบบให้มั่นคง และมีความเข้าใจในการยักเยือนไปต่างๆ คือบทกตตา บทรอนิกัตตา บทกรรม และบทก็ยิดพอ เมื่อเข้าใจในกฎเกณฑ์เหล่านี้ดีแล้ว ก็จะสามารถแปลงประโยคได้ทุกกระบวนแล การลำประโยค การลำประโยคโดยวิธีอปประโยคหลายๆ ประโยค ให้เป็นประโยคเดียวกัน คือ วิธีตัด ย. ต. ออก ดีด โดยวิธีขยายประโยคยาวๆ ให้เป็น ๒ ประโยค คือ เพิ่ม ย. ต. เข้ามา ดีด เหล่านี้มีกระบวนวิธีทำ สลับซับซ้อนมากมาย ไม่อาจสั้นแจงให้หมดสิ้นได้ จึงจะเฉลงเฉพาะที่เห็นง่ายๆ และทำได้ไม่ยากนักดังนี้ การลำประโยคโดยวิธีอปประโยค ก่อนอื่นต้องเข้าใจว่าประโยค ย ๓ นั้น เรียกเป็นภาษาไวยากรณ์ ว่าศรประโยค ในประโยค ย ๓ นั้น ประโยค ย คือว่าเป็นประโยคขยายประโยค ๓ อีกทีหนึ่ง อาจขยายบทประธานในประโยค ๓ ก็ได้ หรือขยายบทรีซา บทวิสาสนะ เป็นต้นก็ได้ ขอให้ดูตัวอย่าง ขยายบทประธาน : โอ ทุขา มูลจิตตาโม , โส มยา สุทธิ อาคจุตุๆ (๑/๑๒)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More