คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 372
หน้าที่ 372 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชานี้ให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับการเขียนและส่งใบตอบในการสอบแปลภาษาไทย รวมถึงขั้นตอนการตรวจทานคำตอบอย่างละเอียด โดยเน้นการตรวจสอบใบตอบก่อนส่ง เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดและเตรียมให้เรียบร้อยก่อนเข้าสอบ นอกจากนี้ยังให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดทำบัตรประจำตัวสอบให้สมบูรณ์และข้อปฏิบัติหลังสอบ เช่น การเข้าห้องสอบและการเก็บรักษาหมายเลขบังคับ เพื่อสะดวกในการเรียงใบตอบและการติดตามหากเกิดข้อผิดพลาด โดยเน้นไม่ให้แสดงอาการตกใจหลังสอบและขอให้ตั้งใจทำในครั้งถัดไปให้ดีที่สุด ไม่ควรให้เหตุการณ์ในวันแรกส่งผลต่อการสอบในวันถัดไป.

หัวข้อประเด็น

-การเตรียมสอบ
-การตรวจทานคำตอบ
-การส่งใบตอบ
-ข้อปฏิบัติหลังสอบ
-การรักษาสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๗๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ร.๙ : คฉฉฺดา จ "ทหารสามเณราโน หตฺเต โอโลเกสุสมตติ ตุจฉฺหตฺเตนา คตปุพพา ฆ ๑๘. เมื่เขียนคำตอบลงในบอรบเสร็จแล้วให้อ่านตรวจทานอีกครั้งหนึ่งก่อน แล้วจึงตรวจทานกับภาษาไทยตาม ข้อ๑๐. อีกครั้งหนึ่งถ้ามีเวลาพอจะอ่านทานซ้ำๆ อีกครั้งหนึ่ง ก็ได้ ๑๙. นิยมเขียนหมายเลขบังคับจำนวนกระดาษใบตอบที่ส่งไว้ที่มุมบนด้านขวามือ เพื่อแสดงว่าได้ส่งใบตอบจำนวนกี่แผ่น จะเป็นการง่ายต่อการเรียงใบตอบ และหากสูญหายตกหล่นไป ก็จะหาได้ง่ายหรือทราบได้ง่าย ๒๐. เมือจะส่งใบตอบ ให้เขียนบัตรประจำตัวสอบที่ได้รับแจกไว้ให้เรียบร้อยก่อน แล้วกลัดติดกับใบตอบ นำไปส่งให้กรรมการ โดยลงชื่อในใบรับใบตอบนักเรียนก่อน เพื่อแสดงหลักฐานว่าตนได้ส่งใบตอบแล้ว ข้อปฏิบัติหลังจากสอบแล้ว ๑. เมื่อส่งใบตอบแล้ว ให้ออกจากห้องสอบทันที เมื่ออยู่นอกห้องสอบ หากเปิดแบบดูว่าตนทำผิดพลาดไป ก็ไม่ควรแสดงอาการตกใจ หรือโวยวายออกมากว่าตนทำผิดอย่างนั้นอย่างนี้ เพราะจะทำให้งำลังใจลด ไม่ควรจะสอบในวันต่อไปอีกหรือวันต่อไป อาจทำไมได้ดีเท่าที่ควร เพราะท้อใจเสียแล้วว่าาถึงอย่างไร ตนตกแน่แล้วแต่วั นแรก ข้อนี้ไม่แน่เสมอไป เพราะข้อที่ตนเห็นว่าผิดนั้น อาจเป็นถูกต้อง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More