คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 296
หน้าที่ 296 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔-๙ อธิบายถึงการเข้าใจองค์คาพยพและส่วนประกอบของประโยคภาษาไทย แนะนำให้จัดระเบียบความเข้าใจเพื่อการตีความอย่างถูกต้อง รวมถึงการนำเสนอประเภทของบท ซึ่งประกอบไปด้วย บทประธาน บทขยายประธาน บทกิริยา บทขยายกิริยา บทกรรม บทขยายกรรม และบทเชื่อม ตัวอย่างการใช้งานในประโยคภาษาไทยเพื่อให้เห็นถึงการทำงานของบท แต่ละชนิดก็สามารถนำมาเปรียบเทียบกับการใช้ภาษานครได้เพื่อเพิ่มเติมความเข้าใจในหลักการแปลภาษา นอกจากนี้ยังแนะนำให้นักศึกษาใช้ความรู้ในการเรียนเพื่อนำไปใช้ในสภาพการณ์จริงในด้านการแปล

หัวข้อประเด็น

-องค์ประกอบของประโยค
-ประเภทของบท
-การใช้งานบทในประโยค
-การแปลภาษาไทยเป็นภาษานคร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๘๐ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔-๙ จุดแสดงไว้เพื่อประโยชน์แกการนำมาเทียบเคียงกันให้เห็นเด่นชัด ง่ายต่อการตีความและจับประเด็นเนื้อความ แล้วแต่งเป็นภาษานคร ก่อนอื่นนักศึกษาพึงรู้ถึงองค์คาพยพหรือส่วนประกอบของประโยคภาษาไทยและชื่อเรียกที่ศึกษากันในทางโลกตามสมควร องค์ภาพนั้นคือ - บท - วลี - ประโยค บท บท คือ คำ วลี หรือ ประโยค ที่นำมาใช้เป็นส่วนประกอบของประโยค บทนี้มี ๗ ชนิด คือ บทประธาน บทขยายประธาน บท-กิริยา บทขยายกิริยา บทกรรม บทขยายกรรม และบทเชื่อม เมื่อเทียบเคียงแล้วก็เหมือนบทในประโยคภาษามคร เช่นกัน ต่างแต่ว่าทำหน้าที่เป็นประโยคภาษาไทยนั้นอาจเป็นคำ หรือวลี หรือประโยคก็ได้ แล้วแต่เนื้อความ ตัวอย่างเช่น บทประธาน หรือบทที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าประโยค และทำหน้าที่คุมกริยาภายในประโยคนี้มีกั้บที่เป็นคำ เป็นวลี และเป็นประโยค ตัวอย่างเช่น ใช่คำ : สามเณร ไปบิณฑบาต : ทุกข์ เป็นสิ่งที่ทนได้ยาก ใช่วลี : ความเจ็บและความตาย ไม่มีใครต้องการ : มาทำงานสาย เป็นสิ่งไม่ดี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More