ข้อความต้นฉบับในหน้า
คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ปว.4-9
4. ในกรณีที่ข้อความภาษาไทยกล่าวถึงเรื่องได้ไวโดยย่อก่อนแล้วกล่าวอธิบายขยายความเรื่องนั้นออกไปอีก ก่อนที่จะแต่งข้อความอธิบายนั้น นิยมเติมคำว่า "กำ" ซึ่งแปลว่า "คือ" คั่นไว้ก่อนแล้วจึงแต่งความต่อไป แต่หากข้อความนั้นมีความยาวและเป็นเรื่องสำคัญจะเติมคำว่า "ตระยำ อนุเภทภิกขา" ดังนี้ ก็เหมาะอยู่ เช่น
: เต นน มตุตวามมปราเนา หุตวา นานปปากเรติ เตสส
สังปิสัญณ์ สูงคุณหนุตปี อนุคุณหนุตปี ๆ กำ ๆ เต
อนุตีวารเรส สาธอิคารมสุขานี ปรสลา กตุต
อนุชานนุติบ ธรรคาหา หุตวา ปรสลา สย์
มาเป็นตุติ อนุเว มาหาเปตุวา มาปปุนติติฯ
ในเรื่องการเติมความนี้ อยู่ในดุลยพินิจของนักศึกษเองว่าถามเห็นเหมาะเห็นควรอย่างไร จะเติมตอนไหนอย่างไร ข้อสำคัญก็คือเมื่อเติมแล้วให้ได้ใจความสมบูรณ์และชัดเจนขึ้น ให้ถูกหลักภาษา และไม่เติมจนดูเผินไป
การเติมในทุกที่ตามความคิดเห็นของตน โดยไม่คำนึงถึงเนื้อความภาษาไทยที่กำหนดให้ เช่น แต่งอธิบายขยายความธรรม หรือใส่เรื่องราวต่าง ๆ ไป เพื่อเข้าไปมากเหมือนแต่งกระจุ๋งธรรมอย่างนี้หลายเป็นเผินไป ไม่เป็นที่นิยม แม้จะแต่งกฎธรรมและถูกเรื่อง แต่ก็ไม่ถูกหลักการเติมความและไม่ตรงกับข้อความที่กำหนดให้แต่ง ข้อ นั้นก็ ศึกษา ควรหลีกเลี่ยงให้มาก เติมเฉพาะที่จำเป็นเป็นดีที่สุดและไม่เผอด้วย ข้อสำคัญอยู่ อย่างนี้