คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 38
หน้าที่ 38 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เน้นการแปลคำในภาษาไทยและบาลี โดยอธิบายถึงวิธีการเรียงคำและการสร้างความสัมพันธ์ในประโยคเพื่อให้การแปลมีความหมายที่ชัดเจน และหลีกเลี่ยงความคลุมเครือในการแปล นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างการแปลที่แสดงให้เห็นถึงการใช้หลักการที่ถูกต้องในการแปลเสียงและคำ เพื่อทำให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายขึ้นเกี่ยวกับการเขียนและการสื่อสารในภาษา.

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทย
-การเขียนและการสื่อสาร
-หลักการเรียงคำ
-ความสัมพันธ์ของประโยค
-ตัวอย่างการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๒ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔-๙ นอกจากจะแปลว่า ภิกษุให้จรราแก่สามเณรแล้ว อาจแปลว่า ภิกษุให้ จิรของสามเณร คือ ภิกษุอาจจิรของสามเณรไปให้แก่อื่น ดังนี้ได้ เพราะตามประโยคและการสัมพันธ์ น่าจะเป็นได้มากกว่าคำแปลแรก ดังนั้น จึงต้องเรียงเสียงใหม่ว่า "ภิกษุ จิวาร สามเณรสุชาติ" ดังนี้เป็นอันชัดเจน ดันไม่ได้ ไม่คลุมเครือเหมือนตัวอย่างแรก หรืออย่างความไทยว่า "ครรภ์ดังขึ้นในท้องของกฤษฏิสินธุ์ นั่นแล้ว" กลับเป็นนครว่า "อสุส ภรียาย ถุฉิยะ คุโพฺ ปติสุจิฑิ ฯ อย่างนี้ถูกต้องทั้งทางความหมายทั้งทางสัมพันธ์ Because อสุส สัมพันธ์เข้ากับ ภรียาย เรียงไว้นำภรียาย ภรียาย สัมพันธเข้ากับ คุโพฺ ก็ได้ เข้ากับ ปติสุจิ ฯ ก็ได้ เป็นอันถูกต้องทุกศัพท์ แต่ถ้าเรียงเสียงใหม่ว่า อสุส คุโพฺ ภรียาย ถุฉิยะ ปติสุจิ ฯ อย่างนี้ตามหลักการเรียง และหลักไวเรกานต์ ดูเหมือนจะไม่ผิด แต่ ลองคิดทางสัมพันธ์ และปลดประโยคนี้ อสุส อามสัมพันธุ์เข้ากับ คุโพฺ ก็ได้ because วางไว้ตรงหน้า เมื่อเป็นดังนี้ จึงต้องแปลว่า ครรภ์ของเศรษฐีผู้นั้น ตั้งขึ้นใน ท้องของอรรยา แปลดังนี้ ก็อาจลูกค้านว่าแปลเข้าไปได้อย่างไร แต่ ลองพิจาณาดู ก็รูปศัพท์และรูปประโยคบงับให้แปลอย่างนั้นก็ได้ ขอให้นักศึกษาจำไว้อย่างหนึ่งว่า การเขียนหนังสือภาษาไทยก็ตาม ภาษา บาลีก็ตาม โดยเฉพาะเขียนวลาสลอบ ต้องเขียนให้คนที่ไม่รู้เรื่อง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More