การแปลงประโยคและการลำประโยค ๒๒๓ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 249
หน้าที่ 249 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการแปลงประโยคและการลำประโยคในภาษาไทย โดยประกอบด้วยตัวอย่างการใช้ปัจจัยต่างๆ ในภาษาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงรูปประโยคให้ถูกต้อง การแสดงออกถึงการเปลี่ยนแปลงในบทประธานและการใช้กิริยาแบบต่างๆ รวมถึงตัวอย่างที่ชัดเจนในการแสดงให้เห็นถึงวิธีการปรับประโยคในสถานการณ์ต่างๆ โดยเนื้อหานี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจถึงความซับซ้อนของการใช้ภาษาในบริบทที่แตกต่างกันได้ดียิ่งขึ้น คลิกที่ dmc.tv สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม

หัวข้อประเด็น

-การแปลงประโยค
-การลำประโยค
-ปัจจัยในภาษา
-กิริยาคุมพากย์
-ตัวอย่างการแปลงประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การแปลงประโยคและการลำประโยค ๒๒๓ ตัวอย่างประโยค ย ขยายเหตุ (ยสมา ตสมา) (๑) ตัด ยสมา ตสมา ออก แล้วใส่ปัจจัยในภาวัตถิ คือ ตุต ตา หรือ ภาว ศพท์ หรือ โต ปัจจัยแทน โดยมีรูปเป็น ตุต ตาย ภาวนา โต (๒) กิริยาคุมพากย์ในประโยค ย ถ้าเป็นกิริยาอาขขาต ให้แปลว เป็นกิริยากิตริั oรักษากาลไว้ แต่จากต้องเปลี่ยนเป็นกัมมาวาจา (เว้นไว้แต่ประโยค ย เป็นอัมมราฯ) แล้วนำมาประกอบกับ ตุต ตาย ภาวนา หรือ โต ตัวใดตัวหนึ่ง (๓) ถ้าประโยค ย เป็นกิตตุวาจา บทประธานจะต้องเปลี่ยนเป็นติยาวิภัคติ บทกรรมต้องเปลี่ยนเป็นอัตวิภัคติ ถ้าเป็นประโยคมากมาวาจา บทประธานต้องเปลี่ยนเป็นอัตวิภัคติ ดูตัวอย่าง ความไทย : เพราะเขาจะทำกรรมนัน ฉะนันข้าพเจ้าจึงห้ามเขาไว้ เดิม = ยสมา โส ตุมุ กเรยย (ยสมา โส ตุมุ กเรยย) ตสมา ตํา นิวาเร็สี ฯ เป็น = เตน ตสุส กตตำพุทธาตา (กตตำพุ- ภาวนา) ติ นิวาเร็สีฯ ความไทย : เพราะบัดนี้ วิญญูนั้นบังเกิดที่สุวิชิวามแล้ว ดังนั้นเรา จึ่งอนุญาตให้พวกเจ้าอาเจี๊ยวได้ เดิม = ยสมา ปนโส อิทาน ตุติสวิตามา นินิวเรสี ฯ ตสมา มาย ตุมาหี จิวรรคหนฺ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More