ข้อความต้นฉบับในหน้า
การเรียงประโยคอธิบายความ ๒๕๕
(๑) เรียงบทตั้งไว้ข้างหน้า มี อิต ศัพท์คำ แล้วตามด้วยบทแก้
(๒) บทแก้นั้นจะต้องมีลักษณะเหมือนกับบทตั้ง คือ ถ้าบทตั้งเป็น
คำพ้นามประกอบด้วยจงานและวิตต์ตอะไร บทแก้จะต้องมีจงานและ
วิตต์ตี่เหมือนกัน ถ้าบทตั้งเป็นคำศัพท์กรียา ประกอบด้วยกรียา
ประเภทไหน กรียาภายายต กรียากิต หรือประกอบด้วยปัจจัยอะไร
กาลอะไร วิิตติอะไร เป็นต้น บทแก้จะต้องมีลักษณะเช่นเดียวกันกับ
บทตั้งนั้น
(๓) หากว่ามีบทแก้ ๒ บท หรือ ๓ บท โดยมีคำว่า "คือ,
ได้แก่" อยู่ด้วย บบทแก้ตัวนั้นต้องประกอบศัพท์ให้มีลักษณะเช่น
เดียวกับบทแก้ตัวเรา และหลังบทแก้ตัวสุดท้าย จะใส่อิต อุตโฺไว้
ด้วย หรือไม่ใส่ ก็ได้เช่นกัน
(๔) หากมีบทแก้เพียงบทเดียว ไม่มีนิยมใส อิต อุตโฺ เข้ามารับ
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ความไทย : บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อญฺญุตร ได้แก่ เทวดา
ตนหนึ่งผู้เปนภุฏ โดยชื่อและโลโก ฯ
เป็น : ตตฺ อญฺญุตราต นามโคฏตุโต อปลญา เอาก ๆ
(มงคล ๑/๗)
ความไทย : บทว่า อวิญฺญาตวา ได้แก้ ให้ว่า ๆ
เป็น : อวิญฺญาตวาติ วนิตตวา ๆ (มงคล ๑/๘)
ไม่ใช่ : อวิญฺญาตวาติ วนิตวา ๆ
(หรือ วนทามาโน หรือ วนทุโต)
ความไทย : ก็พึงตรามวิจฉัในคำว่า สย อญฺญา สุกิฏตวา