ข้อความต้นฉบับในหน้า
การเรียงประโยคอธิบายความ ๒๕๑
๒. ในประโยคบอกเหตุผลมิคำว่า "เพราะ" ตามหลังคำว่า "ชื่อว่" นิยมเรียงคำที่แปลว่า "ชื่อว่า" นั่นไว้ท้ายประโยค โดยไม่ต้องใส่นามศัพท์ เข้ามารับ ทั้งนี้เพราะที่แปลว่า "ชื่อว่า" หนุนเข้ามา ก็เพราะเป็นไปตามหลักแห่งการแปลที่มีคำว่า "เพราะ" อยู่ข้างหน้า ดังตัวอย่างในข้อ ๒.๒ และตัวอย่างอื่นๆ เช่น
ความไทย : ความเพื่อเจื้อน ชื่อว่ามีโทษน้อยเพราะมีอาเสวนะ (ความเคยชิน) น้อย ชื่อว่ามีโทษมาก เพราะมีอาเสวนะมากๆ
เป็น : โล (สมุผูปลาตาโล) อาเสวนมนุฑตาย อุปสาวโช โอ
อาเสวนมนุดตาย มหาสาวโช โ ฯ (มูคลง ๑/๑๒๙)
ไม่นิยมเป็น : โล.........อุปสาวโช นาม......มหาสาวโช โ นาม ฯ
ไม่นิยมเป็น : โล.........อุปสาวโช นาม......มหาสาวโช โ นาม ฯ
๓. ที่ท่านว่านาม ศัพท์ไว้คู่บับ เพราะ ด้วย เช่นตัวอย่างว่
เติบ หิ กามทธพูโต กามา นาม ฯ (มูคลง ๑/๒๓)
แบบนี้มีใช้จ้อย ไม่นิยมถือเป็นแบบ จึงไม่ควรถือเอาเป็นบรรทัดฐาน นิยมใช้ที่ไม่มี นามศัพท์ กำกับเป็นส่วนมาก
๔. ในการอธิบายความของคำศัพท์เพื่อให้เกิดความแจ้งแจ้งนั้น คำศัพท์
ที่เป็นบทตั้ง (ศัพท์ที่แปลว่าชื่อว่า) ท่านมีวิธีเรียง เท่าที่สอบถามดู ก็มี ๕
แบบ คือ
แบบที่ ๑ เป็นแบบที่ใช้ อิติ ศัพท์ แทน นาม ศัพท์ เป็นแบบตั้งอรรถ ดังตัวอย่างที่ ๒.๔ และตัวอย่างอื่นๆ เช่น
: พาหุจฉนิติ พหวุสุภาโย ฯ
: สิงปุนิติ ยงกิญจิ หฤโกลสลัล ฯ (มูคลง ๑/๑๕)