กลกฤษฎีการเรียงประโยค ๖๓ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 99
หน้าที่ 99 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงกลกฤษฎีการเรียงประโยค ๖๓ ที่สำคัญในภาษาไทย โดยเฉพาะการใช้คำเชื่อม 'ยาว' ที่มีความหมายหลายประการ และการใช้ 'วินา' ในการเว้นประโยคให้ถูกต้อง รวมถึงตัวอย่างการใช้คำในบริบทต่างๆ เช่น การบำรุงพ่อแม่ และวิธีการใช้คำว่า 'เว้น' ในรูปแบบต่างๆ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้นักเรียนและผู้ที่สนใจเข้าใจการใช้ภาษาไทยได้ดีขึ้น โดยเสนอแนวทางในการศึกษาภาษาไทยให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์.

หัวข้อประเด็น

-กลกฤษฎีการเรียงประโยค
-การใช้คำเชื่อม
-การใช้ซ้ำคำ
-หลักการใช้วินา
-ตัวอย่างการใช้ภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กลกฤษฎีการเรียงประโยค ๖๓ : เทวตกุตสส วตฏู่ ปุพพลิตกาลโต ปุปสาย ยาว ปุจิปเวสมา เทวตกตุ อารมฺ น ปชฺ วิฺติฏฺา ทกฺขิ ๆ (๑/๑๒๔) ๔. ยาว ที่มาคู่กับ ดาว เป็น ยาว-ดาว ทำหน้าที่เชื่อมประโยค แปลว่า “จบ, จนกว่า, จนถึง, ตราบเท่าที่, จนกว่าจะถึง, ตลอดเวลาที่ ฯลฯ” ให้เรียงอย่างปกติ คือเรียง ยาว - ดาว ไว้ต้นประโยค จะเรียงประโยค ยาว ไว้ต้นหรือไว้หลัง ก็ได้ แล้วแต่ความ เช่น : คุณพี่ ขอให้คุณพี่จบก่อนว่าลูกนี้จะเติบโต : อาคมฤติ ดาว สามี, ยาว อยู่ ยงปุปโท โคติ ฯ (๔/๗) กระผมจักบำรุงคุณพ่อคุณแม่ด้วยน้อมมือเอง ตลอดเวลาที่คุณพ่อ คุณแม่ยังมีชีวิตอยู่ : ยาว ตุมเห ชิวฺฌ, ดาว โอ สหฺตุ ฯ (๔/๑๒) การใช้ วินา อนุญตุร จปฺตวา ศัพท์ ในสำวนไทยว่า “เว้น, นอก” นั้น อาจใช้ศัพท์ได้หลายศัพท์ และบทตามก็ประกอบวิสัชฌิตได้หลายวิธี คือ “เว้นซึ่ง...”, “ก็มี “เว้นจาก...” ก็มี “เว้นด้วย...” ก็มี ในกรณีเช่นนี้ นักศึกษาพึงสังเกตที่ท่านใช้ในปกรณ์ ทั้งหลาย เท่าที่พอนำมาเป็นแนวทางศึกษาก็ได้ ดังนี้ (๑) วินา ศัพท์ ใช้ในกรณี เว้นอย่างสูง เว้นแบบพรากจากกัน เว้นแบบขาดเสียมิได้ เช่น ผัวเว้นเมียไม่ได้ พุทธบริขันพระศาสดาไม่ได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More