ข้อความต้นฉบับในหน้า
คู่มือวิชาแปลไทยเป็น มคธ ป.ธ.๓-๗
เป็น : ลดาวิติวาสิโสน จเปตวา อริยสาวก เสสาว
เยญญเยน ปุสสล สมาณาน สกุญุตติยาน
กุมมุวิทยาธิติ วิฑวา ฯเปฯ (๗/๑๒๔)
วิธีเรียง อติ ศัพท์
อติ ศัพท์ แปลได้หลาย ๆ เช่น "ว่า, คือ, ด้วยประการฉะนี้"
ลๆ มีวิธีเรียงต่างกันออกไปตามคำแปล เช่น
๑. ที่แปลว่า "ด้วยประการฉะนี้, ด้วยอาการอย่างนี้" ให้เรียงไว้ต้นประโยค มีติดคล้ายกับ เอว เป็นการสรุปเนื้อความที่กล่าวมาแล้วข้างต้น แต่เน้นใช้ เอว มากกว่า อติ เช่น
: อติ อุปปาทปจจจตน มโณ ปุพพงคโม เอตสนติ มโณ ปุพพคามา ฯ (๖/๑๒)
: อิติ เตน ขณา เตน มูหตูเตน ยาว พรุหม่โลกา สทโท อุทูกคจิลิ ฯ
๒. ที่แปลว่า "คือ" เป็นไปตามสำเนวนไทย ใช้ในกรณีที่มีเลขนอกเลขใน โดยเลขนอกได้บอกจำนวนเต็มไว้ ส่วนศัพท์เลขในภายในอติ บอกจำนวนย่อยไว้ เป็นการขยายความเลขนอกอีกทีหนึ่ง อติ ศัพท์ที่ใช้ในกรณีอย่างนี้ นิมนฺโตว่า คือ เช่น
: ดูก่อนภคฺฤ ธ، มี ๒ ประการเท่านั้น คือ คันธะ วีปสนฺธ ฑฺ ฯ (๖/๑๗)
๓. ที่แปลว่า "ว่า" ทำหน้าที่ขยายประนาม เช่น อตฺโต ตอน