คู่มืออาชาเปล่าไทยเป็นครู ป.4-7 คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 370
หน้าที่ 370 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้เสนอวิธีการเขียนและตรวจงานสำหรับนักเรียน โดยแนะนำให้มีการเว้นว่างเมื่อยังคิดไม่ออกและตรวจสอบความถูกต้องของงาน เช่น ไวยากรณ์ ประธาน และกิริยา พร้อมเน้นความสำคัญของการคิดในครั้งแรกมากกว่าครั้งหลัง หากพบข้อบกพร่องก็ให้แก้ไขโดยต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการเขียนให้เกิดขึ้น

หัวข้อประเด็น

- การเขียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- การตรวจสอบและแก้ไขงาน
- เทคนิคการคิดและสร้างสรรค์
- หลักการไวยากรณ์ไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มืออาชาเปล่าไทยเป็นครู ป.4-7 ไปทำตอนต่อไปก่อน โดยเว้นตรงที่ติดนี้ไว้ ทำเสร็จแล้วจึงค่อยกลับ มาคิดใหม่ ถ้ายังคิดไม่ออก ก็ให้เขียนในใบตอบจริงไปก่อน เว้นว่าง สำหรับเติมยังคิดไม่ออกไว้พอสมควร ถ้าไม่ทำดังนี้จะทำให้ตกเวลา น่าเสียดาย เมื่อร่างเสร็จเรียบร้อยหมดแล้ว ให้หยุดพักสมองสักระยะ หนึ่งจะออกไปทำธุระหนัก เขา หรืออยู่กับที่ ก็ได้ เมื่อได้พักพอควรแล้ว ให้ตรวจจุดที่ทำเสร็จแล้ว โดย - ตรวจดูว่าทำเกินปัญหาสนามหลวง ซึ่งบางทีท่านตัดทอน ออกหรือไม่ - ตรวจดูว่าทำครบทุกบรรทัด ทุกประโยคหรือไม่ - ตรวจดูประธาน กิริยาในระหว่าง กิริยาคุมกาย ว่าเป็น วรรคะ เป็นบุรษเดี่ยวกันหรือไม่ - ตรวจดูหลักไวยากรณ์ หลักสัมพันธฺ และหลักการเรียง ว่าถูกต้องดีหรือไม่ - ตรวจดูว่า คำที่ใช้ถูกต้องตามจำนวนหรือไม่ เมื่อ ตรวจดูแล้ว พบข้อบกพร่องใดให้รีบแก้ไขทันที แต่อย่าลืมว่า “ความคิดครั้งแรกดีกว่ากว่าความคิด ครั้งหลังเสมอ” เพราะฉะนั้น หากคิดแก้ไขประโยคใหม่ หรือใช้คำ ใหม่ ต้องพิจารณาให้รอบคอบเป็นพิษ เพราะปรากฏว่าทำครั้ง แรกไบ้บต้องแล้ว แต่แก้ใหม่กลายเป็นผิดไป ดังนี้ก็มี้ เมื่อร่างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ลงมือเขียนในกระดาษ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More