คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 30
หน้าที่ 30 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชานี้นำเสนอหลักการและแนวทางในการแปลภาษาไทยเป็นมคธ โดยมีการจัดเรียงบทประธานและบทกรรม เพื่อให้การแปลชัดเจนยิ่งขึ้น นำเสนอคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องและตัวอย่างเพื่อช่วยในการเรียนรู้ เช่น ศัพท์วิเสสนะ, ศัพท์สัญญาวิเสสนะ, และบทกรรม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจการใช้ภาษาและวิธีการแปลที่ถูกต้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

-หลักการแปลไทยเป็นมคธ
-ศัพท์วิเสสนะ
-บทประธาน
-บทกรรม
-การเรียนรู้ภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ทำให้บทประธานชัดเจนยิ่งขึ้น บทขยายประธานนี้นิยมเรียงไว้หน้าตัว ประธานเลย เช่น ศัพท์วิเสสนะ ทุกกร์ กมฺม มยา กต ฯ ศัพท์วิเสสนสัพพนาม อย์ มหาชโน กุรี คจฺฉติ ฯ (๑/๕) ศัพท์สัญญาวิเสสนะ สาวตถิย์ กร อทินนปุพฺพโก นาม พฺราหฺมโณ อโหสิ ฯ (๑/๒๓) ศัพท์สามีสัมพันธะ มหา อีตา ปุตติ ปฏิสภิตวา กุฎมฺพสฺส สามินี ภวิสฺสติ ฯ (๑/๔๓) ศัพท์อาธาระ ตาม อาวาเส ภิกขุ สนฺนิปติสุ ฯ หตถิโน อนุโตกุจฉัย สฏฐี ปุริสา อปราปร์ จากมนฺติ ฯ (๒/๓๒) บทกรรม บทกรรม คือ บททุติยาวิภัตติซึ่งออกสำเนียงอายตนิบาตว่า “ซึ่ง” เรียกทางสัมพันธ์ว่า “อวุตตกมุม” เป็นบทที่คล้ายกับทำหน้าที่ ขยายกิริยาให้ชัดเจนขึ้น แต่ในที่นี้ขอแยกไว้เป็นบทหนึ่งต่างหาก เพื่อ มิให้สับสนในภายหลัง บทกรรมนี้เรียงไว้หน้ากิริยาที่เป็นสกัมมธาตุเท่านั้น เช่น โส ตสฺสา คพุภปริหาร อทาส ฯ (๑/๓) สามเณโร ตตฺถ นิมิตต์ เหตวา ยฏฐิโกฏิ วิสสชฺเชตวา ติสสา สนฺติก คโต ๆ (๑/๑๕)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More