บทเรียนเกี่ยวกับประโยคและส่วนของประโยค คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 29
หน้าที่ 29 / 374

สรุปเนื้อหา

บทประธานเป็นส่วนสำคัญของประโยคที่จะต้องมีอยู่เสมอ แม้บางครั้งอาจไม่มีรูปประธานให้เห็น เช่น ในตัวอย่าง "สพฺพ์ โภค ทวินน์เยว วิวเรส ๆ" ที่ขาดรูปดังกล่าวก็ยังต้องเติมเพื่อให้ได้ความสมบูรณ์เนื้อหา นอกจากนี้ยังมีบทขยายที่รวมถึงศัพท์วิเสสนะ และศัพท์อื่นๆ ที่แสดงเนื้อความในประโยคอย่างชัดเจน ข้อมูลที่จัดทำนี้มีประโยชน์สำหรับผู้ที่ศึกษาภาษาไทยเพื่อเข้าใจโครงสร้างประโยคและการสร้างประโยคอย่างถูกต้องผ่าน dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-บทประธาน
-บทขยายกรรม
-บทกิริยา
-บทขยายกิริยา
-บทอาลปนะ
-บทนิบาต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคและส่วนของประโยค ๑๓ ๔. บทขยายกรรม ๕. บทกิริยา 5. บทขยายกิริยา ๗. บทอาลปนะ ๔. บทนิบาต บทประธาน บทประธานเป็นส่วนสำคัญของประโยค ได้แก่ ศัพท์ที่ประกอบ ด้วยปฐมาวิภัตติ ออกสำเนียงอายตนิบาตว่า “อันว่า” ศัพท์เช่นใด บ้างที่เป็นประธานได้จักกล่าวทีหลัง ประโยคต่างๆ จะต้องมีบทประธาน อยู่ด้วยเสมอ แม้ในบางครั้งจะไม่มีรูปให้เห็น ก็ต้องเติมเข้ามาเพื่อให้ ได้ความสมบูรณ์ เช่น ประโยคว่า สพฺพ์ โภค ทวินน์เยว วิวเรส ๆ (๑/๔) ประโยคนี้ไม่มีรูปประธานปรากฏ เวลาแปลต้องเติมเข้ามา ตัวอย่างบทประธานในประโยค อถสุส ภริยาย กุฉิย์ คพโภ ปติฏฐาสิ ฯ (๑/๓) อย ธมฺมเทสนา กตฺถ ภาสิตา ฯ (๑/๓) บทขยายประธาน บทขยายประธาน ได้แก่ศัพท์วิเสสนะ ศัพท์วิเสสนะสัพพนาม ศัพท์สัญญาวิเสสนะ ศัพท์สามีสัมพันธะ และศัพท์อาธาระ ทั้งหมด หรือ ศัพท์อื่นๆ ที่ใส่เข้ามาเพื่อแต่ง หรือแสดงเนื้อความออกไปเป็นการ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More