สำนวนนิยม ๑๕๕ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 171
หน้าที่ 171 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับสิ่งที่ควรทำและไม่ควรทำในครอบครัว รวมถึงความสำคัญของการรักษาความสัมพันธ์ในสังคม พร้อมแสดงถึงบทบาทของกรรมฐานในการควบคุมอารมณ์ ความโกรธ ในใจของแต่ละบุคคล เนื้อเรื่องนำเสนอตัวอย่างจากกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการเข้าร่วมพิธีกรรมโบราณ บรรยายถึงบทบาทของเทวดาและกรรมในชีวิตของมนุษย์ โดยมีการอ้างอิงถึงบทสวดและการศึกษาความหมายที่ลึกซึ้ง จากพระไตรปิฎกและคำสอนทางพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-ความสัมพันธ์ในตระกูล
-กรรมฐานและการปฏิบัติ
-บทบาทของเทวดา
-คำสอนทางพุทธศาสนา
-ปัญหาทางจิตใจและความโกรธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สำนวนนิยม ๑๕๕ : ญาติ ฯเปฯ : อย่ากระทำอย่างนี้เลยนะลูก กุมาริกา คนอื่นซึ่งคู่ควรแก่ ตระกูล และโภคะของพวกเรา พ่อแม่จักนำมาให้แก่ลูก ฯลฯ (ป.๖/๒๕๒๑) : ตาต มา เอว์ กริ, อญฺญ์ เต อมหาก กุลสุส จ โภคานญฺจ อนุรูป์ กุมาริก อาเนสสาม ฯเปฯ : พระเถระเข้าไปเที่ยวบิณฑบาต เห็นเขาถูกพวกราช- บุรุษนําไปทางประตูด้านทักษิณ จึงให้พวกราชบุรุษ กระทำเครื่องมัด ให้หย่อน แล้วพูดว่า กรรมฐาน ที่เธอ (เคย) สั่งสมไว้ในครั้งก่อน เธอจงนึกถึงอีก ฯ (ป.๖/๒๕๒๓) เถโร ปิณฑาย จริต ปสนฺโต ต์ ทุกขิณทวาเรน นีหริยมานํ ทิสวา พนฺธน์ สิถิล กาเรตวา “ปุพเพ ตยา ปริจิต กมฺมฏฺฐานํ ปุน อาวเชหีติ อาห์ ฯ (๒) ศัพท์ตติยาวิภัตติ ที่ท่านแปลก่อน - แม้ด้วยทารุณกรรมถึงเพียงนี้ โจรนั้นก็ไม่อาจทำให้ ความโกรธเคืองดับได้ จึงกระทำสนิทชิดชอบกับคน รับใช้ของเศรษฐีนี้ ฯลฯ (ป.๖/๒๕๒๐) : โส เอตฺตเกนาปิ โกปี นิพพาเปต อสกโกนโต ตสฺส จูฬปฏฐาเกน สทรี มิตตสนุกว์ กตวา ฯเปฯ : ครั้งนั้น เทวดาผู้มีรูปมีปรากฏ บอกอุบาสิกานั้นอย่าง นี้ ว่า บุตรนั้นเราจับไว้แล้ว แม้พลีกรรม เราก็ไม่มีความ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More