คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 356
หน้าที่ 356 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยในการแปลคำและสำนวนต่างๆ จากภาษาไทยเป็นภาษา มคธ โดยได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการใช้คำและการเรียงประโยคอย่างถูกต้อง เช่น การใช้สำนวนกาล การเว้นวรรคในบทสนทนา และการเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนและการสอบในระดับต่างๆ ของผู้เรียน นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างการใช้สำนวนและคำแปลที่ชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจหลักการใช้งานได้ง่ายขึ้น

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษา
-การใช้สำนวน
-หลักการเรียงประโยค
-การตรวจสอบคำ
-การพิมพ์ในภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๔๐ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ๒. เรื่องกาล ต้องระวัง ถ้าสำนวนบังกาลไว้ชัด เช่น อยู่ แล้ว ควร เป็นต้น ให้เรียงไปตามสำนวนนั้น ส่วนสำนวนว่า “จะ” อาจ เป็นได้ทั้งปัจจุบันและอนาคต ต้องดูเนื้อความ หรือถ้าไม่บังกาลไว้ ก็ ต้องพิจารณาดูที่ความเช่นกันว่าเป็นเรื่องอดีต หรือเรื่องปัจจุบัน และ เกิดขึ้นประจําหรือไม่ เป็นต้น ๓. สำนวนว่า “ว่า” มีหลักการเรียง ๒ อย่าง ให้สังเกตดูที่ การพิมพ์ข้อสอบในภาษาไทย คือ ก. ถ้าพิมพ์คำว่า “ว่า” กับคำต่อไป เว้นวรรคห่างกันแสดงว่า คำว่า “ว่า” นั้น มาจาก อิติ ศัพท์ ต้องประกอบเป็นประโยคคำพูด (เลขใน) เช่น : เขาพูดว่า แม้ข้าพเจ้าก็จักไป : โส “อหมฺปิ คมิสฺสามีติ” อาห์ ฯ ข. ถ้าพิมพ์ คำว่า “ว่า” กับคำต่อไปติดกันโดยไม่เว้นวรรค แสดงว่า คำว่า “ว่า” นั้น มาจากภาวศัพท์ ให้เรียงเป็นสำนวนว่า “ซึ่งความที่แห่ง...” หรือ “ซึ่งความเป็นคืออัน...” เช่น ชานามิ ฯ เป็น : ข้าพเจ้าไม่รู้ว่าท่านนอนอย่างนี้ : อห์ ตุมหาก เอว์ นิปนุนภาว์ น ชานามิ ฯ (๑/๓๘) ไม่ควรเรียงเสียยืดยาวว่า อห์ ตุมเห เอว์ นิปนนาติ น - เพราะอะไร เธอจึงไม่บอกฉันว่า ครรภ์ตั้งขึ้นแล้ว - กสฺมา มยุห์ คพาสส ปติฏฐิตภาว์ นกเถสิ ฯ (๑/๔๓)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More