ข้อความต้นฉบับในหน้า
กฎเกณฑ์การเรียงประโยค ๒๕
ในประโยคกัตตุวาจก เหตุกัตตุวาจก ให้เรียงไว้ต้นประโยค เช่น
:
สูโท โอทนํ ปจติ ฯ
: สามิโก สูท โอทนํ ปาเจติ ฯ
: มนุสสา วตฺตสมฺปนฺโน ภิกขู ทิสวา ปสนฺนจิตฺตา ฯเปฯ (๑/๗)
ในประโยคอื่นนอกจากนี้ ให้เรียงไว้หลังตัวอนฏิหิตกัตตา เช่น
: สูเทน โอทโน ปริยเต ฯ
: สามเกน สูเทน โอทโน ปาจาปิยเต ฯ
: ภนฺเต มยา เตล ปจิตวา เปสต์ ฯ (๑/๙)
ในประโยคกัมมวาจกและประโยคเหตุกัมมวาจก หากไม่มีตัว
อนภิหิตกัตตา ก็ให้เรียงไว้ต้นประโยคได้ เช่น
: ปณฺณ์ มม สหายเป็น ตุยห์ เปสต์ ฯ
: อยู๋ ถูโป ปติฏฐาปิโต ฯ
๒. ถ้ามีนิบาตต้นข้อความ หรือศัพท์กาลสัตตมี หรือศัพท์ขยาย
กิริยาบางศัพท์ เช่น อถ ยที่ ตทา การณา เป็นต้นอยู่ข้างหน้าก็ดี
บทประธานนั้นมีบทขยายประธานอยู่ด้วยก็ดี ให้เรียงไว้หลังบทนิบาต
เป็นต้นเหล่านั้น เช่น
หลังนิบาต
: สเจ ตว์ อภิกษุขมาโน อาคโตสิ ฯ
หลังกาลสัตตมี : ตทา กิร สาวตถิย์ สตฺต มนุสสโกฏิโย
วสนฺติ ฯ (๑/๕)
หลังบทขยายกิริยา : อถสฺส ภริยาย กุจฺฉิย์ คพโภ ปติฏฐาสิ ฯ
หลังบทขยายประธาน : อย์ ธมฺมเทสนา กตฺถ ภาสิตา ฯ (๑/๓)