ข้อความต้นฉบับในหน้า
มคธ
ศัพท์และความหมาย ๑๙๑
ยังไม่ตาย (สนามหลวง ป.ธ.๖/๒๕๒๖)
: อุปาสก สีสเวสน์ ตาว เม สิถิล กตฺวา อิม
โกญจ์ โอโลเกหิ, มโต วา โนวา (๕/๓๓)
ความไทย : เพื่อจะแสดงความพิสดารแห่งวิสุทธิมรรคนั้น จึง
มีปัญหากรรมนี้ปรารภศีลก่อนว่า ศีลคืออะไร ฯลฯ
มคธ
: วิตถารมสฺส ทสฺเส สีล ตาว อารภ อิท
ปัญหากมุม โหติ กี สีล์ ฯเปฯ (วิสุทธิ์ ๑/๑๗)
พึงดูประโยคต่อไปนี้เปรียบเทียบ เพื่อเป็นแนวสังเกต
สพฺพเมว ตาว อิท สีลํ อตฺตโน สีลนลกฺขเณน เอกวิธี
(วิสุทฺธิ ๑/๑๒)
ปู่สุกูลิกงฺค์ ตาว คหปติทานจีวร ปฏิกปามิ สุกสิงค์
สมาทิยามีติ อิเมสุ วจเนส อญฺญตเรน สมาทินนํ โหติ, อิท
ตาเวตฺถ สมาทาน (วิสุทธิ์ ๑/๑๗)
การใช้ อิตร ศัพท์
ที่แปลว่า “อีก...หนึ่ง” เช่น อีกคนหนึ่ง เป็นต้น ใช้ในกรณีที่
ข้อความข้างต้นได้เอ่ยถึงคนหลายคน หรือหลายสิ่งแล้ว ต่อมาได้แยก
กล่าวกิริยาของแต่ละคนออกไป เมื่อกล่าวถึงคนแรกไปแล้ว
กล่าวถึงอีกคนที่เหลือสุดท้าย นิยมใช้ อิตร ศัพท์แทนผู้นั้น เช่น
จะ
: (นารโท) อาจริย ตุมหาก อิธ นิปนุนภาว์ น ชานามิ,
ขมา เมติ วตฺวา ตสฺส กนฺทนฺตสฺเสว พหิ นิกขม ฯ