การเข้าใจและใช้สำนวนนิยมในภาษาไทย คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 189
หน้าที่ 189 / 374

สรุปเนื้อหา

การใช้สำนวนนิยมในภาษาไทยเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา เนื้อหานี้กล่าวถึงสำนวนต่างๆ และวิธีการที่นักเรียนสามารถใช้ท่าทางเพื่อช่วยจำสำนวนเหล่านั้นได้ เช่น การแหงนดูและการป้องหน้าดู. การเข้าใจสำนวนอย่างถ่องแท้จะช่วยให้นักเรียนสามารถทำข้อสอบได้ดีขึ้นและไม่ทำให้กำลังใจตก. สามารถแบ่งปันข้อมูลนี้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนที่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับสำนวนนิยมในภาษาไทย.

หัวข้อประเด็น

-สำนวนนิยม
-การเรียนรู้ภาษาไทย
-การศึกษา
-เทคนิคการจำ
-ท่าทางและการสื่อสาร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ฉันมีทรัพย์ สำนวนนิยม ๑๗๓ ธน์ เม อตฺถิ, อห์ ธนวา, สธโนมหิ จับกลุ่ม (ของคนหลายพวก) วคควๆคา หุตวา, คุมพคุมพา หุตวา นั่ง (นอน) รวมกัน, ร่วมกัน (ของคนพวกเดียว) พร้อมหน้าพร้อมตา เอกโต นิสีทีสุ (นิป ชีส) เอกจฺฉนฺทา หุตฺวา, เอกโต หุตวา นั่งพร้อมๆ กัน เอกปปหาเรน นิสีทติ, นิสีทนติ เพื่อเผชิญหน้า สมมุขา ภวิ ฯลฯ สำนวนเช่นนี้ ทำความยุ่งยากให้กับนักศึกษาไม่ใช่น้อย ถ้า หากจําไม่ได้ ก็อาจทําให้กำลังใจตกและทำข้อสอบไม่ได้ดีเท่าที่ควร ใน ข้อนี้จึงขอให้ข้อกำหนดไว้อย่างหนึ่ง คือ เมื่อพบสำนวนภาษาไทยแล้ว นึกเป็นภาษามคธไม่ออก ก็ให้นึกถึงท่าทางหรือนึกถึงกิริยาอาการตาม สํานวนภาษาไทยนั้นว่าทําอย่างไร เช่น สำนวนว่า “แหงนดู” ก็ลองนึกกิริยาท่าทางว่าแหงนดูเขา ทำอย่างไรก็จะเห็นภาพว่า การแหงน คือ การเงยหน้าขึ้นข้างบนแล้วดู ก็เท่ากับความภาษามคธว่า อุทธ์ โอโลเกติ แลดูข้างบนนั่นเอง อีกตัวอย่างหนึ่ง เช่น ความไทยว่า “ป้องหน้าดู” ก็นึกภาพ การป้องหน้าว่าทำอย่างไร นั่นก็คือ ยกมือข้างหนึ่งวางแตะที่หน้าผาก พร้อมแลดู ซึ่งก็ได้ความเป็นภาษามคธว่า นลาเฏ หตถ์ เปตวา โอโลเกต แปลตรงตัวว่า วางมือไว้ที่หน้าผากแลดู ซึ่งกลับเป็น สำนวนไทยสันทัดว่า ป้องหน้าดู ตรงตัว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More