การเขียนภาษามคธที่ถูกต้อง คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 153
หน้าที่ 153 / 374

สรุปเนื้อหา

การเขียนภาษามคธต้องมีความแม่นยำในไวยากรณ์และการใช้เครื่องหมาย เนื้อหานี้ได้ทำการรวบรวมข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการเขียนภาษามคธ เช่น การเขียนเครื่องหมายตกและการใช้พยัญชนะผิด นอกจากนี้ยังรวบรวมคำที่มีการเขียนผิดระหว่างภาษามคธและภาษาไทย เช่น พระอนุรุทธ และอนุรุทโธ เพื่อให้เข้าใจถึงข้อมูลและการใช้ได้อย่างถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-การเขียนภาษามคธ
-ความสำคัญของไวยากรณ์
-ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย
-การใช้พยัญชนะในภาษามคธ
-การปรับปรุงการเขียน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ยิ่งจะถูกเพ่งเล็งจากกรรมการมากเป็นพิเศษ ชั้นสูงแล้ว ไม่ควรเขียนภาษามคธผิดเลย ไวยากรณ์และสัมพันธ์ ๑๓๗ เพราะถือว่าอยู่ในภูมิ เท่าที่พบมา พอจะประมวลการเขียนที่ชอบผิดกันโดยมากได้ ดังนี้ (๑) เขียนเครื่องหมาย (จุด) ตก เช่น ตว์ เขียนเป็น ตว์ พฺรหฺม เขียนเป็น พฺรหม นิโครธ เขียนเป็น นิโครธ อินฺทฺริย์ เขียนเป็น อินฺทริย์ คนฺตฺวา เขียนเป็น คนตวา, คนวา สวากขาโต เขียนเป็น สวากขาโต เทว ทวาร์ เขียนเป็น เทว เขียนเป็น ทวาร์ ฯลฯ (๒) ใช้พยัญชนะผิด คือ ใช้พยัญชนะที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่ ต่างวรรคกันผิด หรือใช้อักษรที่ไม่มีในมคธภาษา เช่น ศ ษ ทั้งนี้อาจ เป็นเพราะเผลอตามภาษาไทย เช่น ความไทยว่า ภาษาบาลี มักใช้เป็น พระอนุรุทธ อนุรุทฺโธ อนุรุทโธ ศรัทธา สทฺธา ศทฺธา หรือ สทฺทา นางยักษิณี ยกขินี ยกฺขิณี นางภิกษุณี ภิกฺขุนี ภิกฺขุณี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More