ข้อความต้นฉบับในหน้า
การเรียงประโยคอธิบายความ ๒๖๑
คุมพากย์ ส่วนนิบาตอุปมาโชตก นั้นท่านใช้ทั้ง วิย ยถา ยถา และ
เสยยถา ใช้ได้ทั้งหมด แปลกแต่ว่า
- วิย วางไว้ต้นประโยคไม่ได้ ต้องวางไว้ท้ายประโยค
: ยถา วางไว้ต้นหรือท้ายประโยคก็ได้
: ยถา และ เสยฺยถา วางไว้ต้นประโยค
ดังตัวอย่างเช่น
ความไทย : เพราะฉะนั้น แม้ศีลของภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้วออก
(จากอาบัติ) โดยเทสนาวิธีเป็นต้น ย่อมนำความ
สุขมาให้ได้ เหมือนศีลของพระสุธรรมเถระ ฯ
เป็น
หรอ
หรือ
:
: ตสฺมา อาปัชชิตวา เทสนาทินา วุฏฐหโต สีลมปิ
สุขาวห์ โหติ สุธมฺมตฺเถรสฺส วิย สีล ฯ
มาตาปิตุอุปฏฐาโก จ นาม วิสปีเดน สเรน
วิทโธปิ มรณทุกข์โต มุจฺจติ สุวณฺณสาโม วิย
ยกฺขสนฺติก คโตปิ มุจฺจติ สุตโน นาม ทุคฺคโต วิย
: โย ปน ฯเปฯ อญฺญตเรว โอภาสาทหิ อุปปนน
ปาจเย ปฏิเสวติ, เอส ปโมส เลขวุตตีติ วุจฺจติ
เสยฺยถาปิ เถโร สารีปุตโต ๆ
๔. ในประโยคที่มีอุปมายาวๆ คือ มีข้อความเปรียบเทียบและ
ค่าขยายมาก ทั้งมีกิริยาอาการที่ทำด้วย ไม่นิยมแต่งเป็นรูป วิย แต่
นิยมแบ่งประโยคอุปมาออกเป็นประโยคหนึ่งต่างหาก แล้วใช้ ยถา ตถา
เอว เข้ามารับกัน ประโยคอุปมาใช้ ยถา ประโยคอุปไมยใช้ ตถา หรือ