ประโยคและส่วนของประโยคในภาษาบาลี คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 25
หน้าที่ 25 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับประโยคในภาษาบาลีอธิบายถึงประเภทต่างๆ ของประโยค เช่น อเนกรถประโยคและสังกรประโยค พร้อมตัวอย่างและการอธิบายการทำงานของสันธานนิบาตที่เชื่อมประโยค ทำให้เนื้อหามีความชัดเจนและสมบูรณ์ โดยเนื้อความจะไม่สมบูรณ์หากมีเฉพาะตอนเดียว และต้องการนิบาตเชื่อมเพื่อให้เข้าใจได้ ซึ่งช่วยให้การเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาบาลีและการประยุกต์ใช้งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

หัวข้อประเด็น

-ประเภทของประโยค
-เนื้อความสมบูรณ์
-นิบาตเชื่อมความ
-ตัวอย่างประโยคบาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคและส่วนของประโยค สาวตถิย์ กร มหาสุวณฺโณ นาม กุฏมพิโก อโหสิ อฑฺโฒ มหทธโน มหาโภโค อปุตฺตโก ๆ (๑/๓) ๒. อเนกรรถประโยค คือประโยคที่มีเนื้อความหลายตอนต่อ เนื่องกันจึงจะได้ความสมบูรณ์ หากมีเฉพาะตอนเดียว เนื้อความจะไม่ สมบูรณ์ และไม่อาจรู้เรื่องชัดเจนได้ ซึ่งก็ได้แก่เอกัตถประโยค ตั้งแต่ ๒ ประโยค ขึ้นไปต่อเนื่องกัน โดยมีนิบาตเป็นตัวเชื่อมประโยคนั่นเอง นิบาตประเภทนี้เรียกว่า “สันธานนิบาต (นิบาตเชื่อมความ)” ได้แก่นิบาตจำพวก หิ จ ปน สเจ ยติ กิญจาปิ วา วา ปน อถวา เป็นต้น เช่น ๓. ภนฺเต อห์ มหลุลูกกาเล ปพฺพชิโต คนถธุร์ ปูเรต น สกขิสสามิ, วิปสฺสนาธร ปน ปูเรสสามิ ฯ (๑/๒) สเจ เต อครุ, วเสยยาม เอกรตติ สาลาย ฯ (๑/๓๗) ปฐมาคโต อิมินา สุทธิ์ เอกโต วสิตกาโม ภเวยย วา โน วา ฯ (๑/๓๗) สังกรประโยค คือ ประโยคที่ทีเนื้อความคาบเกี่ยวกันโดยช่วย ขยายความให้เด่นชัดยิ่งขึ้น ได้แก่ เอกัตถประโยค ซึ่งมีเอกัตถประโยค อีกประโยคหนึ่งมาช่วยทำหน้าที่ขยายความปรุงแต่งให้ประโยคแรก ชัดเจนขึ้น สังกรประโยคในภาษาบาลี คือ ประโยคที่นักศึกษารู้จักกันว่า “ประโยค ย ต” นั่นเอง เช่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More