คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 88
หน้าที่ 88 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการแปลภาษาไทยเป็นมคธ โดยเน้นการจัดรูปประโยคและตัวอย่างการใช้คำในบริบทต่างๆ ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจวิธีการเรียงลำดับคำและประโยคได้อย่างถูกต้อง เช่นการใช้ 'เนว' ในประโยคที่มีการปฏิเสธคู่กัน โดยมีตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงการวางคำและการสร้างความหมายที่ชัดเจน นอกจากนั้นยังมีการเปรียบเทียบระหว่างการเรียงคำในลักษณะต่างๆ เพื่อแสดงให้เห็นถึงผลที่เกิดขึ้นต่อความหมายของประโยค.

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-โครงสร้างประโยค
-การใช้คำว่า 'เนว'
-การสะกดและการเรียงตัวประธาน
-การเทียบเคียงประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๒ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ จะเห็นได้ว่า เนื้อความก็ออกมาในรูปเดียวกันทั้งหมด แม้ ประโยคอื่นก็พึงเทียบเคียงโดยนัยนี้ ๒. น ที่ปฏิเสธมาคู่กัน ๒ ตัว ตัวแรกสนธิกับ เอว เป็น เนว นั้น นิยมเรียงตัวประธานที่เข้ากับกิริยาทั้งสองไว้ก่อนแล้วจึงวาง เนว ศัพท์แรกลงไป หาไม่แล้วประโยคหลังจะลอย เพราะ เนว คลุมประโยคไว้ทั้งหมดแล้ว เช่นตัวอย่าง หาตัวประธานไม่ได้ : อมุม ตยา กต์ สสส์ เนว อาโจทเป็น นสสติ, น อโนทเกน นสฺสติ ฯ (๑/๔๘) ถ้าเรียงใหม่ว่า อมุม เนว ตยา กต์ สสส์ อจฺโจทเกน นสสติ, น อโนทเกน นสุสติ ๆ ความก็จะกลายเป็นว่า ข้าวกล้าที่เธอปลูก แล้วย่อมไม่เสียเพราะน้ำมาก ประโยคหลังเลยทำให้ดูเหมือนขาดประธาน แม้จะพอเดาออกก็ตาม จึงดูประโยคต่อไปนี้เทียบเคียง : อญฺเญ ภิกขุ เตหิ สุทธี เนว เอกโต นิสีทนุติ น ติฏฺฐนฺติ ฯ (๑/๕๙) ส่วนตัวอย่างสุดท้ายว่า เนว พราหมณียา น มยุห์ ปารุปน ภวิสฺสติฯ (๕/๑) ท่านเรียงตัวประธานและกิริยาไว้ท้าย แต่ก็มีคติเหมือน เรียงไว้ต้น จะเรียงเสียใหม่ว่า : ปารุปน์ เนว พราหมณียา ภวิสฺสติ, น มยุห์ ฯ หรือ : ปารุปน์ เนว พราหมณิยา, น มยุห์ ภวิสฺสติ ฯ ดังนี้ก็ไม่ผิด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More