คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 266
หน้าที่ 266 / 374

สรุปเนื้อหา

หนังสือเล่มนี้เสนอแนวทางการแปลจากภาษาไทยเป็นมคธ โดยยกตัวอย่างประโยคที่มีความแตกต่างในการใช้ชื่อและหลักการต่างๆ ที่ควรสังเกต นอกจากนี้ยังเสนอวิธีการเรียบเรียงคำให้อยู่ในความหมายที่ถูกต้องและชัดเจน เช่น การวางนามศัพท์ไว้ต้นประโยคหรือท้ายประโยค เพื่อให้นักเรียนเข้าใจการแปลได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ยังมีการยกตัวอย่างจากข้อความศาสนาและการอภิปรายเกี่ยวกับการบำรุงมารดาบิดา รวมถึงตัวอย่างภาษามคธที่ใช้ในการตั้งชื่อและการกล่าวถึงวัตถุต่างๆ ภายในงานที่มีความสำคัญเกี่ยวกับปริยัติธรรม

หัวข้อประเด็น

-วิธีการแปล
-การใช้ชื่อในภาษา
-การวางนามศัพท์
-หลักการแปลภาษาไทย
-ตัวอย่างการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๕๐ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ๒.๖ ตตฺถ ปาเณ ปาณสญฺญโน ฯเปฯ กายวจีทวาราน มญฺญตรปปวตฺตา วธกเจตนา ปาณาติปาโต นาม ๆ (มงคล ๑/๒๐๑) ๒.๗ ปรปริคคหิเต ปรปริคคหิตสญฺญโน ฯเปฯ กายวจีทวารป ปวดตา เถยฺยเจตนา อทินนาทาน ฯ (มงคล ๑/๒๐๒) จึงพอสรุปได้ว่า ความไทยที่ว่า “ชื่อว่า” นั้น มีที่มาและวิธีใช้หลาย แบบด้วยกัน ในข้อนี้นักศึกษาพึงสังเกตว่า ในกรณีไหนท่านวาง นาม ศัพท์ ไว้ด้วย ในกรณีไหนท่านไม่วางไว้ และในกรณีไหนวาง นาม ศัพท์ ไว้ ต้นประโยค ในกรณีไหนวางไว้ท้ายประโยค ซึ่งพอมีหลักสังเกตดังนี้ ๑. ในประโยคบอกเล่าธรรมดาๆ และท่านแปลธรรมดาๆ มิได้ อธิบายขยายความเป็นพิเศษ อย่างนี้นิยมเรียง นาม ศัพท์ ติดกับบท ประธานไว้ต้นประโยค และท่านนิยมใช้สำนวนว่า “ธรรมดา..., ธรรมดา ว่า.....” เช่นตัวอย่างในข้อ ๒.๑ และเช่น เป็น ความไทย : ขอเดชะ ธรรมดาว่าศิลปะผู้ฉลาดในโลกจึงเล่าเรียนกัน เทว สิปป์ นาม โลเก ปณฺฑิเตหิ อุคคหิตพพ์ ฯ (มงฺคล ๑/๑๖๑) ความไทย เป็น : : - เพราะฉะนั้น ชื่อว่าบุตรต้องเป็นผู้มีจิตมั่นคงในการ บำรุง (มารดาบิดา) เหมือนอุบาสกผู้เลี้ยงมารดา (สนามหลวง ป.ธ.๗/๒๕๒๗) : ตสฺมา ปุตเตน นาม มาตุโปสกุปาสเกน วัย อุปฏฐานกมุเม ถิรจิตเตน ภวิต พ ฯ (มงคล ๑/๓๐๔)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More