การใช้ประโยคคำถามในภาษามคธ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 165
หน้าที่ 165 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการเรียงประโยคคำถามในภาษามคธ โดยอธิบายหลักการเรียงคำในประโยค เน้นไอเดียสำคัญ เช่น การจัดลำดับคำว่า 'ที่' และกิริยาในประโยคคำถามที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ไม่เห็น ตัวอย่างที่เสนอช่วยให้เข้าใจความนิยมในการใช้ภาษานี้ได้ดียิ่งขึ้น ประโยคคำถามในมคธมีความหลากหลายและต้องคำนึงถึงการเรียงลำดับเพื่อให้มีความหมายชัดเจน

หัวข้อประเด็น

-การใช้ประโยคคำถาม
-หลักการเรียงประโยค
-ความนิยมในภาษามคธ
-ตัวอย่างประโยคคำถาม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สำนวนนิยม ๑๔๙ เต็มที่ เวลาแต่งให้ลดลงเฉพาะศัพท์ที่ไม่ซ้ำกันเท่านั้นจึงใส่เข้ามา ดูประโยคต่อไปนี้เป็นตัวอย่างเทียบเคียง : ตว์ เม มาตร มตาย มาตา วัย, ปิตร มเต ปิตา วิย ลทฺโธ ๆ (๑/๖) : อุปาสกา เอโก สย์ ทานํ เทติ ปร์ น สมาทเปต, โส นิพฺพตฺตนิพฺพตฺตฏฐาเน โภคสมุป ปริวารสมปท์ ๆ (๑/๗๐) ประโยคคำถาม ในการเรียงประโยคคำถามในภาษามคธนั้น ลภติ, โน นอกจากจะเรียง ตามแบบประโยคแบบต่างๆ ดังกล่าวมาแล้ว ยังมีข้อปลีกย่อยอื่นๆ ที่ ควรสนใจอีก เพราะเกี่ยวกับความนิยมของภาษา คือ (๑) ประโยคข้อความใดเป็นคำถาม ให้เรียง ที่ ไว้ต้นประโยค หรือเรียงกิริยาคุมพากย์ไว้ต้นประโยคแทน ที ดังกล่าวมาพร้อม ตัวอย่างในตอนต้น (๒) ประโยคคำถาม ที่ถามว่า อยู่ไหน ไปไหน เป็นต้น ถ้า ถามถึงสิ่งไม่เห็นตัวตน ไม่ทราบแน่นอนว่าอยู่หรือไปไหน อย่างนี้ ไม่นิยมใส่กิริยาว่า คโต คนติ วสติ เป็นต้น เวลาแปลผู้แปลจะต้อง ใส่เอาเอง เช่น : กุฎมพี่จำพระเถระเหล่านั้นได้ จึงนิมนต์ให้นั่ง ทำการ ต้อนรับ แล้วเรียนถามว่า หลวงพี่ พระเถระของ กระผมอยู่ที่ไหนขอรับ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More