คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 84
หน้าที่ 84 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชานี้เน้นการแปลไทยเป็นมคธ พร้อมรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดการประโยคและหลักการเขียนที่ถูกต้อง ให้ผู้เรียนเข้าใจวิธีการแปลที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการจัดเรียงนิบาตและการสนธิ ซึ่งมีความสำคัญในการตีความบทความและการเขียนอย่างถูกต้อง.

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-การจัดการประโยค
-การเขียนและไวยากรณ์
-นิบาตและการสนธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๖๘ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ ก่อนถึงนิบาตนั้นๆ และประโยคเลขในซึ่งเป็นประโยคใหม่ ไม่เนื่องด้วย ประโยคข้างนอก จึงต้องนับหนึ่งกันใหม่ ข้อนี้ต้องสังเกตและระวังให้ดี จำง่ายๆ ว่าประโยคจะสิ้นสุด ลง เมื่อมีกิริยาคุมพากย์ ส่วนประโยคเลขในซึ่งแทรกเข้ามาในประโยค ใหญ่ จัดเป็นประโยคใหม่ต่างหาก ไม่เกี่ยวกับประโยคเลขนอก ในทาง สัมพันธ์ประการใด นิยม คือ การเรียงนิบาตนี้ มีข้อที่ควรสังเกตและระวังไม่ให้ผิดความ ๑. ปี อปว เอว อิว เหล่านี้ ให้เขียนติดกับบทที่ตนกำกับอยู่ และถ้าสนธิได้ก็นิยมสนธิเลย เช่น : : ปพฺพชิสสาเมวาห์ ตาตฯ (๑/๗) : อห์ปิ คมิสสามีติ ฯ (๑/๕) ตโต นํ ทุกฺขมเนวติ จกก๋ว วหโต ปท ฯ (๑/๒๐) ๒. หิ จ ปน เมื่อวางไว้หลังบทหน้าซึ่งลงท้ายด้วย (นิคคหิต) นิยมสนธิกับบทนั้น ไม่นิยมเรียงไว้โดดๆ เช่น : เอวหิ โน สิกขิตพฺพ์ ฯ ไม่นิยมว่า เอว หิ โน สิกขิตพฺพ์ ฯ : กาญจ ปน เม ภันเต..... ไม่นิยมว่า กถ จ ปน เม ภันเต..... : ออมปน ภิกฺขเว..... ไม่นิยมว่า อยู่ ใน ภิกฺขเว.......
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More