คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 102
หน้าที่ 102 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธนี้เน้นการใช้และการเรียง อิติ ศัพท์ ที่สามารถแปลได้หลายแบบ เช่น "ว่า", "คือ", และ "ด้วยประการฉะนี้" การใช้งานศัพทเหล่านี้มีวิธีเรียงที่แตกต่างกันตามความหมายในแต่ละบริบท เช่น ในกรณีที่แปลว่า "ด้วยประการฉะนี้" นิยมจัดเรียงไว้ต้นประโยคเพื่อสรุปเนื้อความก่อนหน้านี้ ในขณะที่เมื่อแปลว่า "คือ" มักใช้ในกรณีที่เกี่ยวกับเลขที่มีการขยายความ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างการใช้ในกรณีต่างๆ เพื่อการศึกษาที่ชัดเจน โดยเนื้อหาสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแปลได้จริง.

หัวข้อประเด็น

-การใช้ อิติ ศัพท์
-การแปลจากไทยเป็นมคธ
-วิธีการเรียงประโยค
-ข้อแตกต่างของ อิติ ในบริบทต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๖ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ เป็น วิธีเรียง อิติ ศัพท์ : สาวตวาสิโน เปตวา อริยสาวก เสสา เยฮุยเยน ปสฺสถ สมณาน สกยปุตติยาน กมฺมนฺติอาทีนิ วตฺวา ฯเปฯ (๗/๑๒๔) อิติ ศัพท์ แปลได้หลายนัยเช่น “ว่า, คือ, ด้วยประการฉะนี้ ฯลฯ มีวิธีเรียงต่างกันออกไปตามคำแปล เช่น ๑. ที่แปลว่า “ด้วยประการฉะนี้, ด้วยอาการอย่างนี้” ให้เรียง ไว้ต้นประโยค มีคติคล้ายกับ เอว์ เป็นการสรุปเนื้อความที่กล่าวมา แล้วข้างต้น แต่นิยมใช้ เอว์ มากกว่า อิติ เช่น : อิติ อุปปาทปปัจจยตฺเถน มโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโน ปุพฺพงฺคมา ฯ (๑/๒๑) : อิติห เตน ขเณ เตน มุหุตเตน ยาว พรหมโลกา สทฺโท อพาคคจฉิ ฯ ๒. ที่แปลว่า “คือ” เป็นไปตามสำนวนไทย ใช้ในกรณีที่มีเลข นอกเลขใน โดยเลขนอกได้บอกจำนวนเต็มไว้ ส่วนศัพท์เลขในภายใน อิติ บอกจำนวนย่อยไว้ เป็นการขยายความเลขนอกอีกทีหนึ่ง อิติ ศัพท์ ที่ใช้ในกรณีอย่างนี้ นิยมแปลว่า คือ เช่น ๓. : ดูก่อนภิกษุ ธุระมี ๒ ประการเท่านั้น คือ คันถธุระ วิปัสสนาธุระ - คนถธร วิปัสสนาธุรนฺติ เทวเยว ธุรานิ ภิกฺขุ ฯ (๑/๗) ที่แปลว่า “ว่า” ทำหน้าที่ขยายบทนาม เช่น อตฺโถ ตอน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More