ข้อความต้นฉบับในหน้า
๓๑๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙
มคธ : อตีเต กร พาราณสีย์ พฺรหฺมทตฺเต รัชช์ กาเรนเต
โพธิสตฺโต กปิโยนีย์ นิพฺพตฺติ ฯ โส หิ วยปปตโต
ลงฺฆนาลงฺฆณปคุโณ ปญฺจหตุ พลาติพลูเปโต
อสีติกปิสหสฺสปริวาโร หิมวนเต วสิ ฯ
(สนามหลวง ๒๕๑๑)
ไทย : การสืบอายุพระศาสนาตามที่พุทธบริษัทได้ถือเป็นปฏิบัติ
สืบๆ มา จับตั้งแต่ครั้งพุทธกาลเป็นต้นเดิม จวบจน
กระทั่งถึงปัจจุบันกาล คงย่นย่อพอถือเป็นหลักใหญ่ได้
๒ ประเภทด้วยกัน กล่าวคือ หลักที่เกี่ยวกับบุคคล
ประเภท ๑ หลักที่เกี่ยวกับวัตถุประเภท 9 เรียกสั้นๆ ว่า
หลักบุคคลกับหลักวัตถุ
୭
มคธ : ยญฺจ ปรมปราภรณ์ พุทธกาลโต ปฏฐาย
ยาวชฺชตนา ปฏิปชฺชิต, ติ ทุวิธ์ โหติ บุคคล
ปริยาปนน์ วัตถุปริยาปนนญาติ ฯ สงฺขิตเตน
ปุคฺคลวตถุอาภรณ์ ฯ
(สนามหลวง ๒๕๑๐)
เนื่องจากวิธีการแต่งไทยเป็นมคธมีกระบวนการมากมายหลาย
อย่าง มีความละเอียดลึกซึ้งไม่น้อย ไม่อาจแสดงให้แจ่มแจ้งชัดเจนได้
ด้วยข้อเขียนเพียงเท่านี้ แต่ที่แสดงไว้นั้นเป็นส่วนหนึ่งซึ่งเป็นข้อสังเกต
บ้าง เป็นหลักบ้าง และเป็นตัวอย่างที่ท่านแต่งไว้ให้ดูเป็นแนวทางบ้าง
นักศึกษาผู้ต้องการความชำนิชำนาญในกระบวนการแต่งไทยเป็นมคธ