คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 156
หน้าที่ 156 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ นี้เป็นแหล่งความรู้เกี่ยวกับการแปลจากภาษาไทยเป็นมคธ โดยมีการสังเกตเกี่ยวกับชื่อพระเถระที่นิยมใช้สมาสซ้อน และการใช้ศัพท์อุปสัคต่างๆ ในการแปล เช่น การนำหน้าสระและพยัญชนะ นอกจากนั้นยังเน้นการตรวจสอบการใช้ศัพท์สมาสว่าถูกต้องหรือไม่ และการรัสสะของคำในบางกรณีเพื่อให้การแปลเป็นไปอย่างถูกต้อง รวมทั้งตัวอย่างที่ชัดเจนในการใช้คำเหล่านั้นในบริบทต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น การปรารถนา ความมืด และศาสตร์และปัญญา นับว่าเป็นคู่มือที่มีประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับผู้ศึกษาภาษาและการแปลมคธอย่างลึกซึ้ง โดยเป็นแหล่งข้อมูลที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่ต้องการพัฒนาทักษะการแปลและความเข้าใจในภาษาโบราณ

หัวข้อประเด็น

-ชื่อพระเถระ
-อุปสัคในภาษา
-การใช้ศัพท์สมาส
-การรัสสะคำ
-ตัวอย่างการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๔๐ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ สังเกตได้ดังนี้ ก. เกี่ยวกับชื่อพระเถระทั้งหมด เมื่อเข้าสมาสกับศัพท์ว่า เถร นิยมซ้อน ๆ เช่น อานนฺทตฺเถโร อุปาลิตเถโร กสฺสปตฺเถโร ฯลฯ ข. อุปสัค คือ สุ นำหน้า และ นิ ( เข้า, ลง ) ไม่นิยมซ้อน เช่น สุคติ สุกร สุคโต นิคจฺฉติ นิขนติ นิมุคโค ฯลฯ ค. อุปสัค คือ ทุ และ นิ (ไม่มี, ออก) นิยมซ้อน เช่น ทุคฺคนฺโธ ทุกกฏ นิผโล นิจฉาโต นิททุกโข ถ้านำหน้าสระ ให้ลง 5 อาคม เช่น ทราคโม ทุรกฺขาโต นิรุปทุทโว นิรามโย ฯลฯ แต่ถ้านําหน้าพยัญชนะ วรรค นิยมทีฆะ คือ ท เป็น ทู นิ เป็น นี เช่น ทูหร์ นิรโส นิวรณ์ ฯลฯ (๓) ใช้ศัพท์สมาสผิด คือ ศัพท์มโนคณะ เมื่อเข้าสมาสแล้ว นิยมลง โอ แต่ไม่ลง เช่น ความปรารถนาแห่งใจ ผู้บรรเทาความมืด ก้อนเหล็ก เจโตปณิธิ ใช้เป็น เจตปณิธิ ตโมนุโท ใช้เป็น เมนโท อโยคฬ ใช้เป็น อยคุฬ อนึ่ง ศัพท์ที่เป็น อี อู การันต์ ใน 1, เมื่อเข้าสมาสแล้วนิยม รัสสะ อี เป็น อิ, อู เป็น อุ แต่ไม่รัสสะ เช่น เสฏฐิภูโต ใช้เป็น เสฏฐีภูโต หต ทนโต ใช้เป็น หต ทนฺโต วิญฺญุภาว์ ใช้เป็น วิญญูภาว ส่วนศัพท์ที่เป็น อา อี อู การันต์ใน อิต. เมื่อเข้าสมาสแล้ว ไม่นิยมรัสสะ เว้นแต่ศัพท์ว่า ปริสม เม เมตตจิตต์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More