หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ ๓๑๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 335
หน้าที่ 335 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงหลักการและแนวทางในการแต่งภาษาไทยให้อยู่ในรูปแบบของมคธ สำหรับผู้ที่สนใจเรียนรู้การแต่งประโยคตามแบบดั้งเดิม โดยมีตัวอย่างประโยคสำหรับต้นเรื่อง คอคาถา และเอตทัคคะ กำหนดรูปแบบให้ผู้ศึกษาได้นำไปปรับใช้ในการกล่าวถึงประโยคที่มีความสอดคล้องกับธรรมะ ซึ่งช่วยในการฝึกฝนและพัฒนาภาษาไทยในเชิงศิลปะการแต่งประโยคเฉพาะทาง.

หัวข้อประเด็น

-หลักการแต่งประโยค
-รูปแบบมคธ
-การศึกษาไทย
-ตัวอย่างประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ ๓๑๙ ไทยเข้าลักษณะประโยคแบบนั้น ก็จะแต่งไปตามแบบที่มีอยู่ได้เลย สำนวนอย่างนี้ไม่นิยมแต่งรูปประโยคขึ้นมาใหม่ตามที่คิดขึ้นเอง แม้จะ รักษาความไว้ได้ แต่ก็ผิดแบบอยู่ดี ตัวอย่างประโยคแบบที่พึงจดจำมี ดังนี้ ๑. ประโยคต้นเรื่อง เช่น ....ติ ธมฺมเทสน์ สตฺถา วิหรนโต อารพุภ กเถสิ ฯ เอวมฺเม สุต ๆ เอก สมย์ ภควา ๒. ประโยคคอคาถา เช่น อนุสนธิ์ คเหตุวา ธมฺม เทเสนฺโต อิม คาถมาห์ ๆ อนุสนธิ์ ฯเปฯ อิมา คาถา อภาส ฯ ......ติ วตฺวา อิม คาถมาห์ ฯ ๓. ประโยคตั้งเอตทัคคะ ะ ตงชาย : เอตทัคค์ ภิกฺขเว มม สาวกานํ ภิกฺขุน ขิปปา ภิญญาน, ยทิท พานิโย ทารุจีริโย ๆ ตั้งหญิง : เอตทัคค์ ภิกฺขเว มม สาวกานํ ภิกฺขุนีน (หรือ อุปาสิกานํ) ....... ยทิท เช่น : เอตทนฺนํ ภิกฺขเว มม สาวิกา อุปาสิกาน ธมฺมกถิกาน, ยาท ขุชชุตตรา ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More