คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 206
หน้าที่ 206 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในคู่มือวิชานี้เน้นการแปลและการใช้ศัพท์ในบริบทต่างๆ เช่น ความหมายของคำว่า 'ก่อน' และวิธีการสื่อสารต่างๆ ของพระพุทธเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการแปลจากภาษาไทยไปเป็นมคธ โดยให้ความสำคัญกับความหมายและลำดับความในเนื้อหา เช่น การใช้คำว่า 'ปฐมตร์' ในที่ที่พระองค์ไม่คุ้นเคย นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างการใช้ศัพท์และการแปลในเรื่องเฉพาะที่สำคัญ เช่น การจัดที่นั่งในงานหรือโอกาสต่างๆ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวันเพื่อความเข้าใจที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นในภาษาและวรรณกรรม.

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมคธ
-เทคนิคการแปล
-บริบทการใช้ศัพท์
-การสื่อสารของพระพุทธเจ้า
-การตีความคำในบริบทต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๙ O คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ คมน์ น ยุตต์ (๓/๖๓) ความไทย : พระองค์ใดพูดก่อนว่า อาตมาชื่อจูฬปันถก จงจับ มือพระองค์นั้นไว้ มคธ : โย ปฐม อห์ จูฬปนถโกติ วาติ, ต์ หตฺเถ คุณห (๒/๘๒) (๒) ในบางกรณีท่านใช้ศัพท์ว่า ปฐมตร์ หรือ ปุเรตส์ ที่แปลว่า ก่อนกว่า แทน ปฐม บ้าง เช่น ความไทย : ก็ในที่ที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงคุ้นเคย การที่ภิกษุรูป หนึ่ง ผู้จะบอก(วิธี)ปูอาสนะล่วงหน้าไปก่อนย่อมควร มคธ ความไทย มคธ : พุทฺธานํ ปน อปริจิตฏฐาเน อาสนปญฺญตฺติ อาจิกฺขนฺเตน เอเกน ภิกฺขุนา ปฐมตร์ คนตุ๊ วฏฺฏติ (๑/๖๕) : (อันหญิงผู้อยู่ในตระกูลสามี) ไม่พึงขึ้นที่นอนนอน ก่อนแม่ผัว พ่อผัว และสามี : สสสสสุรสามิเกหิ ปุเรต สยน อายุห์ น นิปชฺชิตพฺพ์ (๓/๖๓) (๓) คำว่า ก่อน ในความหมายที่ตัดตอนข้อความอื่น ซึ่งไม่พึง ประสงค์ไว้ มุ่งเอาเฉพาะเรื่องเฉพาะกิจที่พึงประสงค์เท่านั้น เช่น ยกไว้ ก่อน, พิจารณาดูก่อน, เป็นอย่างนั้นอย่างนี้ก่อน เป็นต้น นิยมใช้ ดาว เข้า มาตัดตอน เช่น ความไทย : อุบาสก ท่านจงกระทำเชือกพันศีรษะเรา ให้หย่อน ก่อน แล้วตรวจดูนกกระเรียนนี้ มันตายแล้ว หรือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More