การแปลงประโยคและการล้มประโยค คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 253
หน้าที่ 253 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการแปลงประโยคและการล้มประโยคในภาษาไทย โดยมีตัวอย่างการแยกประโยคและเปรียบเทียบระหว่างภาษาไทยและภาษามคธ เพื่อให้เข้าใจการใช้ภาษาและการสร้างประโยคที่ถูกต้อง ทั้งนี้ยังมีการยกตัวอย่างการใช้คำเช่น ในกรณีของพระภิกษุและบุคคลที่ทำบาปกรรมอื่นๆ เสนอวิธีการที่เป็นระบบในการแปลงประโยคอย่างละเอียดเพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจและนำไปใช้ได้จริง

หัวข้อประเด็น

-การแปลงประโยค
-การล้มประโยค
-เปรียบเทียบภาษาไทยและภาษามคธ
-วิธีการสร้างประโยค
-ตัวอย่างการใช้งาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การแปลงประโยคและการล้มประโยค ๒๓๗ : พระภิกษุ าได้ทํากรรมอันหนักซึ่งทําได้ยาก อาจแยกเป็น ๒ ประโยคได้ว่า (๑) พระภิกษุดำาได้ทำกรรม (๒) กรรมอันหนักซึ่งทำได้ยาก ดูประโยคภาษาไทยกับภาษามคธเปรียบเทียบกัน : : : บุคคลผู้นําบาปกรรมไว้มาก ย่อมไปสู่ทุคติ พหุ ปาปกมุม กโรนฺโต ทุคคติ คจฺฉติ ฯ (๑) บุคคลทําบาปกรรมไว้มาก (โย) พหุ ปาปกมุม กโรติ ฯ (๒) บุคคลย่อมไปสู่ทุคติ (โส) ทุคคติ คจฺฉติ ฯ ข้าพเจ้าจะให้สิ่งที่ท่านต้องการทุกอย่าง : สพฺพ์ ตยา อิจฉิต ทมุมิ ฯ (๑) ข้าพเจ้าจะให้ทุกสิ่งทุกอย่าง (ต) สพฺพ์ ทมุมิ ฯ (๒) สิ่งที่ท่านต้องการ (ย์) ตยา อิจฉิต ฯ เมื่อกลับแล้วจะเป็น ย์ ตยา อิจฉิต, ต์ สพฺพ์ ทามิ ฯ ต่อไปนี้จักแสดงวิธีการโดยละเอียด ตัวอย่างขยายวิเสสนะ บทวิเสสนะของทุกบท เช่น วิเสสนะของบทประธาน ของบท
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More