หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ ๒๔๗ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ หน้า 303
หน้าที่ 303 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอหลักการแต่งไทยเป็นมคธ โดยยกตัวอย่างการใช้ภาษาที่มีความแตกต่างกันระหว่างสองรูปแบบ ควรสังเกตถึงการใช้งานและตัวเชื่อมประโยคที่สำคัญสำหรับการเรียนรู้ โดยจะกล่าวถึงวิธีการสังเกตตัวอย่างและเปรียบเทียบเนื้อความในภาษาต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้คำถามในประโยค รวมถึงวิธีการเลือกประโยคที่สำคัญจากหลาย ๆ ตอน แนะนำให้มั่นใจว่าได้เลือกเนื้อหาอย่างชัดเจนและถูกต้อง.

หัวข้อประเด็น

-หลักการแต่งประโยค
-การเปรียบเทียบประโยค
-การใช้คำถามในภาษา
-การเชื่อมประโยคตระกูลมคธ
-เทคนิคการศึกษาภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักการแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙ ๒๔๗ เช่น ไปนี้ - เขาทํางานที่ต่างจังหวัด แต่ผมทำงานที่กรุงเทพฯ นี่เอง กว่าจะสอบประโยค ๙ ได้ สมองก็แทบจะระเบิดออกมา ถึงเขาจะอ่อนแออย่างไร เขาก็ยังสู้เรียนจนสำเร็จได้ เพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้น พึงสังเกตดูตัวอย่างเปรียบเทียบด้ง ต่อ ไทย : เขาไปหาพระเถระที่วัด แต่ก็ไม่พบท่าน มคธ : โส เถร ทฏฐ์ อาราม อคมาส, ต์ ปน น ปสฺส ฯ ไทย : ถึงกําลังนั้นจะให้สําเร็จกิจได้ ก็ยังมีข้อเสียอยู่ มคธ : กิญจาปิ ต พล์ ยกิจฉิต กิจจ์ สาเธติ, ตสฺส ปน โทโส อตฺถิเยว ๆ ๓. วิกัลปาเนกรรถประโยค คือ อเนกรรถประโยคที่มีเนื้อความให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ประโยคชนิดนี้กล่าวเนื้อความไว้สองตอน แต่ต้องการเพียงตอนเดียว มีสันธานว่า หรือ ไม่เช่นนั้น มิฉะนั้น เป็นต้น เป็นตัวเชื่อมประโยค ส่วนในภาษามคธใช้นิบาตบอกคำถามคือ วา อุทาห์ อาทิ เป็นตัวเชื่อม ประโยค เช่น เธออยากจะเป็นทหารตำรวจ หรืออยากจะเป็นอะไร - เขาต้องมีปากกา หรือไม่ก็มีดินสอในกระเป๋าแน่ๆ ท่านมีย่ามแล้วหรือยัง เพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้น พึงสังเกตดูตัวอย่างเปรียบเทียบดังต่อ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More