ข้อความต้นฉบับในหน้า
เบ็ดเตล็ด ๓๔๑
ไม่ใช่ : กสมา มยุห์ “คพโภ ปติฏฐิโตติ” นกเถา ฯ
๔. ประโยคจะเรียงเป็นรูปวาจกใดก็ได้ ถ้าสามารถเป็นได้ แต่
ต้องให้ได้ใจความเท่าที่กำหนดไว้ และถูกต้องตามหลักการเรียงวาจก
นั้นๆ
๔. การเขียนศัพท์มคธ ต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนที่
นิยมทั่วไป ไม่ใช่เขียนผิดๆ ถูกๆ เช่น ทวาร์ เป็น ทวาร์, คนตวา
เป็น คนตวา, พฺยญฺชน์ เป็น พยัญชน์ เป็นต้น
๖. เต เม โว โน ห้ามเรียงไว้ต้นประโยคเด็ดขาด อย่าเผลอ
๗. นิบาตที่ต้องเรียงไว้ต้นประโยค มี สเจ ยที่ นน อโห
ยนนูน หนุท เป็นหิ อถ อถโข อถวา อปเปวนาม ยถา เสยฺยถา
ตถา เอว์ (ที่แปลว่า ฉันนั้นด้วยประการฉะนี้
นิบาตที่ต้องเรียงไว้เป็นที่ ๒ เสมอ มี หิ จ ปน กิร ขลุ สุท
โข เจ วา (หิ จ ปน อาจเรียงไว้เป็นที่ ๓ ที่ ๔ ได้) นิบาตเหล่านี้
ห้ามเรียงไว้ต้นประโยคเด็ดขาด
นุ
๔. สมาส ห้ามนำศัพท์นามไปสมาสกับศัพท์กิริยา หรือกับ
ศัพท์ที่ประกอบกับ ตุ๊ ปัจจัย เช่น
: วตต์ กโรนโต เป็น วาตกโรนโต
: ธมฺม เทเสนโต เป็น ธมฺมเทเสนโต
: กมุม กา
สมาสอย่างนี้ไม่ได้
เป็น กมุมกา